หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การศึกษาภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลในภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 16 ของประเทศไทย

การศึกษาภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลในภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 16 ของประเทศไทย

การศึกษาภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลในภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 16 ของประเทศไทย

ผู้เขียน ปิลันธน์ ไทยสรวง
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลในภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 16 ของประเทศไทย
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2552 (2009)
จำนวนหน้า 330
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

 

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

 

กิตติกรรมประกาศ

 

สารบัญตาราง

 

สารบัญแผนภูมิ

 

สารบัญภาพ

 

บทที่ 1 บทนำ

 - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

 - ความมุ่งหมายในการวิจัยและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

 - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

 - สมมุติฐานในการวิจัย

 - ขอบเขตของการศึกษา

 - วิธีการศึกษา

 

บทที่ 2 บทบาทของภาชนะดินเผาในงานโบราณคดีและประวัติการศึกษาภาชนะดินเผาในภาคใต้ของประเทศไทยโดยสังเขป

 - บทบาทของภาชนะดินเผาในงานโบราณคดี

 - ประวัติการศึกษาภาชนะดินเผาในภาคใต้ของประเทศไทยโดยสังเขป

 

บทที่ 3 แหล่งโบราณคดีภูเขาทองกับหลักฐานทางโบราณคดีและแหล่งโบราณคดีใกล้เคียง

 - ที่ตั้งและสภาพทั่วไปของแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

 - สภาพที่ตั้งของแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

 - การดำเนินงานทางโบราณคดีที่ผ่านมา

 - การดำเนินงานขุดค้นทางโบราณคดีปี 2548

 - หลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2548

   - เศษภาชนะดินเผาหลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2548

 - หลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2548

   - เศษภาชนะดินเผาหลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2548

 - การดำเนินงานขุดค้นทางโบราณคดีปี 2549

 - หลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2549

   - เศษภาชนะดินเผาหลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2549

 - หลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2549

   - เศษภาชนะดินเผาหลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2549

 - โบราณวัตถุที่ได้จากการขุดค้น ทั้งสี่หลุม

 - โบราณวัตถุที่ได้จากการสำรวจ

 - แหล่งโบราณคดีใกล้เคียงแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

 

บทที่ 4 การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

 - วิธีการศึกษาและวิเคราะห์ภาชนะดินเผา

 - ขั้นตอนการศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

 - ลักษณะทั่วไปและการเรียกชื่อของภาชนะดินเผา

 - การศึกษาภาชนะดินเผาที่ได้จากการขุดค้นทางโบราณคดีในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

 - การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง หลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2548

 - การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง หลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2548

 - การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง หลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2549

 - การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง หลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2549

 - สรุปผลการศึกษารูปแบบภาชนะดินเผา

 - การศึกษาเนื้อดินภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

 

บทที่ 5 การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองกับแหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว แหล่งโบราณคดีคลองท่อมและแหล่งโบราณคดีอื่นๆที่สำคัญ

 - การกำหนดอายุของแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

 

บทที่ 6 บทสรุป

 

บรรณานุกรม

 

ประวัติผู้วิจัย

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

อินเดีย คาบสมุทรภาคใต้ การค้าทางไกล แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว แหล่งโบราณคดีคลองท่อม จังหวัดชุมพร จังหวัดระนอง จังหวัดกระบี่ เปอร์เซีย

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น

จำนวนผู้เข้าชม

182

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

7 มี.ค. 2566

การศึกษาภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลในภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 16 ของประเทศไทย

  • การศึกษาภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลในภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 16 ของประเทศไทย
  • ผู้เขียน
    ปิลันธน์ ไทยสรวง

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การศึกษาภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลในภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 16 ของประเทศไทย

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2552 (2009)

    จำนวนหน้า
    330

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

     

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

     

    กิตติกรรมประกาศ

     

    สารบัญตาราง

     

    สารบัญแผนภูมิ

     

    สารบัญภาพ

     

    บทที่ 1 บทนำ

     - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

     - ความมุ่งหมายในการวิจัยและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

     - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

     - สมมุติฐานในการวิจัย

     - ขอบเขตของการศึกษา

     - วิธีการศึกษา

     

    บทที่ 2 บทบาทของภาชนะดินเผาในงานโบราณคดีและประวัติการศึกษาภาชนะดินเผาในภาคใต้ของประเทศไทยโดยสังเขป

     - บทบาทของภาชนะดินเผาในงานโบราณคดี

     - ประวัติการศึกษาภาชนะดินเผาในภาคใต้ของประเทศไทยโดยสังเขป

     

    บทที่ 3 แหล่งโบราณคดีภูเขาทองกับหลักฐานทางโบราณคดีและแหล่งโบราณคดีใกล้เคียง

     - ที่ตั้งและสภาพทั่วไปของแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

     - สภาพที่ตั้งของแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

     - การดำเนินงานทางโบราณคดีที่ผ่านมา

     - การดำเนินงานขุดค้นทางโบราณคดีปี 2548

     - หลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2548

       - เศษภาชนะดินเผาหลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2548

     - หลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2548

       - เศษภาชนะดินเผาหลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2548

     - การดำเนินงานขุดค้นทางโบราณคดีปี 2549

     - หลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2549

       - เศษภาชนะดินเผาหลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2549

     - หลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2549

       - เศษภาชนะดินเผาหลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2549

     - โบราณวัตถุที่ได้จากการขุดค้น ทั้งสี่หลุม

     - โบราณวัตถุที่ได้จากการสำรวจ

     - แหล่งโบราณคดีใกล้เคียงแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

     

    บทที่ 4 การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

     - วิธีการศึกษาและวิเคราะห์ภาชนะดินเผา

     - ขั้นตอนการศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

     - ลักษณะทั่วไปและการเรียกชื่อของภาชนะดินเผา

     - การศึกษาภาชนะดินเผาที่ได้จากการขุดค้นทางโบราณคดีในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

     - การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง หลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2548

     - การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง หลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2548

     - การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง หลุมขุดค้นที่ 1 ปี 2549

     - การศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง หลุมขุดค้นที่ 2 ปี 2549

     - สรุปผลการศึกษารูปแบบภาชนะดินเผา

     - การศึกษาเนื้อดินภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

     

    บทที่ 5 การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองกับแหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว แหล่งโบราณคดีคลองท่อมและแหล่งโบราณคดีอื่นๆที่สำคัญ

     - การกำหนดอายุของแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง

     

    บทที่ 6 บทสรุป

     

    บรรณานุกรม

     

    ประวัติผู้วิจัย


  • บทคัดย่อ
  • การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาภาชนะดินเผาจากแหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลในภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 16 ของประเทศไทย โดยเน้นศึกษารูปแบบ ลวดลาย และเนื้อดินของภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัดระนอง จากนั้นนำผลสรุปที่ได้จากการศึกษามาเปรียบเทียบกับแหล่งโบราณคดีร่วมสมัยในคาบสมุทรประเทศไทย เช่น แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว จังหวัดชุมพร แหล่งโบราณคดีคลองท่อม จังหวัดกระบี่ และเปรียบเทียบกับแหล่งโบราณคดีในประเทศใกล้เคียงเพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกคาบสมุทรของประเทศไทย

     

    ผลการศึกษาภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองทั้งได้จากการขุดค้นและสำรวจทางโบราณคดี พบว่าภาชนะดินเผาในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ภาชนะดินเผากลุ่มพื้นเมือง และกลุ่มรูปแบบต่างชาติ

     

    ภาชนะดินเผากลุ่มพื้นเมืองในแหล่งโบราณคดีภูเขาทองเป็นภาชนะดินเผาเนื้อหยาบที่ผลิตใช้เองในชุมชนมีเทคนิคการทำและรูปแบบภาชนะไม่ซับซ้อน รูปทรงที่พบได้แก่ โอ่ง หม้อ ไห จานและชาม มีการตกแต่งแบบง่าย ๆ โดยใช้วัตถุดิบรอบตัวอย่างเช่น เครื่องจักสาน ไม้ เป็นต้น ลวดลายการตกแต่งที่พบได้แก่ ลายเสื่อทาบ ลายเครื่องจักสาน ลายรวงผึ้ง ลายขุด ลายขูดขีด และลายไม้ลาย เป็นต้น ส่วนภาชนะดินเผาต่างชาติที่พบในแหล่งโบราณคดีภูเขาทอง ได้แก่ ภาชนะดินเผาอินเดีย และภาชนะดินเผาเปอร์เซีย (บาสราแวร์)

     

    จากการศึกษาภาชนะดินเผาในครั้งนี้อาจจะกล่าวได้ว่าแหล่งโบราณคดีภูเขาทองเป็นชุมชนโบราณที่มีการตั้งถิ่นฐานในช่วงแรกเริ่มประวัติศาสตร์ซึ่งมีการอยู่อาศัย 2 ช่วง คือ ราวพุทธศตวรรษที่ 5-7 และในราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 ก่อนจะลดบทบาทและร้างการอยู่อาศัยในที่สุด

     

    เมื่อศึกษาภาชนะดินเผาร่วมกับหลักฐานต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่าแหล่งโบราณคดีภูเขาทองเป็นแหล่งเมืองท่าสำคัญบริเวณคาบสมุทรของประเทศไทยในช่วงยุคการค้าอินโด – โรมัน ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 5-9 โดยมีการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างชุมชนในคาบสมุทรและชุมชนต่างชาติ


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การค้าทางไกล, เทคโนโลยี, เศรษฐกิจการค้า,

    ยุคสมัย
    สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น

    คำสำคัญ
    อินเดีย คาบสมุทรภาคใต้ การค้าทางไกล แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว แหล่งโบราณคดีคลองท่อม จังหวัดชุมพร จังหวัดระนอง จังหวัดกระบี่ เปอร์เซีย


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 7 มี.ค. 2566
    จำนวนผู้เข้าชม : 182