หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การศึกษาภาชนะดินเผาที่ตำบลบ้านคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี ที่ได้จากการขุดค้นระหว่างปี 2524-2525

การศึกษาภาชนะดินเผาที่ตำบลบ้านคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี ที่ได้จากการขุดค้นระหว่างปี 2524-2525

การศึกษาภาชนะดินเผาที่ตำบลบ้านคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี ที่ได้จากการขุดค้นระหว่างปี 2524-2525

ผู้เขียน เอ็นดู นิลกุล
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาภาชนะดินเผาที่ตำบลบ้านคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี ที่ได้จากการขุดค้นระหว่างปี 2524-2525
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2528 (1985)
จำนวนหน้า 164
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 สภาพโดยทั่วไป

บทที่ 3 การศึกษารูปแบบภาชนะดินเผาของคูบัว

บทที่ 4 การวิเคราะห์และเปรียบเทียบ

บทที่ 5 บทสรุป

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

คูบัว ทวารวดี ราชบุรี ภาชนะดินเผา

ยุคสมัย

ทวารวดี

จำนวนผู้เข้าชม

10

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

6 ม.ค. 2568

การศึกษาภาชนะดินเผาที่ตำบลบ้านคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี ที่ได้จากการขุดค้นระหว่างปี 2524-2525

  • การศึกษาภาชนะดินเผาที่ตำบลบ้านคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี ที่ได้จากการขุดค้นระหว่างปี 2524-2525
  • ผู้เขียน
    เอ็นดู นิลกุล

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การศึกษาภาชนะดินเผาที่ตำบลบ้านคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี ที่ได้จากการขุดค้นระหว่างปี 2524-2525

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2528 (1985)

    จำนวนหน้า
    164

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทที่ 1 บทนำ

    บทที่ 2 สภาพโดยทั่วไป

    บทที่ 3 การศึกษารูปแบบภาชนะดินเผาของคูบัว

    บทที่ 4 การวิเคราะห์และเปรียบเทียบ

    บทที่ 5 บทสรุป


  • บทคัดย่อ
  • วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้ทำการวิเคราะห์ภาชนะดินเผาจากแหล่งขุดค้นคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี คูบัวเป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดี ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-16 จุดประสงค์ของการวิจัยนั้น เพื่อที่จะศึกษารูปแบบ ส่วนประกอบทางโครงสร้าง และเทคโนโลยีของภาชนะดินเผาในหลายรูปแบบต่าง ๆ กับของภาชนะดินเผาสมัยทวารวดีในบริเวณนี้ แหล่งขุดค้น 2 แห่งที่คูบัว ได้ทำการขุดค้นโดยนักศึกษาคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ. 2524-2525 จากผลของการขุดค้นทางโบราณคดีในเมืองโบราณนี้ทำให้เราได้ตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับการตั้งภูมิลำเนา วิถีชีวิต และสังคมของพลเมืองซึ่งอาศัยอยู่ที่คูบัว จากการขุดค้นในปี พ.ศ. 2524 และ 2525 เศษภาชนะดินเผาที่พบนั้นส่วนใหญ่แล้วจะอยู่ในสภาพไม่สมบูรณ์ หรือรูปแบบที่ชัดเจน การศึกษาจึงใช้ผลสรุปของรูปแบบภาชนะดินเผา ได้ส่งตัวอย่างภาชนะดินเผาของหลุม N.W.27-342 และ N.W.27-343 ไปวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางเคมีที่ศูนย์วิจัยภาชนะดินเผา กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในการวิจัยนี้ ผลการวิเคราะห์เศษภาชนะดินเผาทางเคมี ทำให้ทราบถึงรูปแบบของคูบัว รูปแบบพาชนะดินเผาที่พบไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ จากการวิเคราะห์หาอายุหอยแครงของหลุม N.E. 8-33 และหลุม N.E. 8-34 ได้ให้ข้อกระจ่างชัดว่า เมืองคูบัวได้มีผู้คนเข้ามาอยู่อาศัยแล้วเมื่อ 1,000 – 1,400 ปีล่วงมาแล้ว และมีความเจริญทางเทคโนโลยีสูง ประชาชนได้ปั้นภาชนะด้วยมือ ช่างปั้นได้ใช้เทคนิคหลายแบบตกแต่งภาชนะ เช่น การขดดิน การใช้แป้นหมุน เป็นต้น จากการศึกษาภาชนะทำให้ทราบซึ่ง ชีวิตสังคมว่าประชาชนคูบัวได้ใช้ภาชนะดินเผานี้ในชีวิตประจำวันในโอกาสต่าง ๆ กัน หรือในพิธีทางศาสนา รูปแบบภาชนะบางแบบคล้ายกับพบที่บ้านคูเมือง จังหวัดสิงห์บุรี หรือที่จังหวัดนครปฐม ซึ่งมีอายุอยู่ในสมัยทวารวดี


    ห้องสมุดแนะนำ

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การค้าทางไกล, การตั้งถิ่นฐาน,

    ยุคสมัย
    ทวารวดี

    คำสำคัญ
    คูบัว ทวารวดี ราชบุรี ภาชนะดินเผา


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 6 ม.ค. 2568
    จำนวนผู้เข้าชม : 10