หน้าแรก วิทยานิพนธ์ พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

ผู้เขียน ศิริพร ลิ่มวิจิตรวงศ์
ชื่อวิทยานิพนธ์ พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2553 (2010)
จำนวนหน้า 317
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

 

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

 

กิตติกรรมประกาศ

 

สารบัญภาพ

 

สารบัญแผนที่

 

บทที่ 1 บทนำ

 - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

 - ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

 - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

 - ขอบเขตของการศึกษา

 - ขั้นตอนของการศึกษา

 - วิธีการศึกษา

 

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม และกรอบแนวคิดในการศึกษา

 - ทบทวนวรรณกรรม

   - การศึกษาในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

   - การศึกษาในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานีและสายบุรี

   - การศึกษาในพื้นที่ลุ่มน้ำบางนราและลุ่มน้ำโกลก

 - แนวคิดและกรอบการศึกษาทางโบราณคดีในการศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

 - การกำหนดระยะเวลาและลักษณะสำคัญทางวัฒนธรรมในการศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

 

บทที่ 3 สภาพภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

 - ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและจังหวัดสงขลา

 - ลุ่มน้ำปัตตานีและลุ่มน้ำสายบุรี (จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลาและนราธิวาส)

 - ลุ่มน้ำบางนรา-ลุ่มน้ำโกลก จังหวัดนราธิวาส

 

บทที่ 4 ชุมชนโบราณและหลักฐานทางโบราณคดีที่พบในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของพุทธศตวรรษที่ 19

 - ชุมชนโบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์

 - ชุมชนโบราณยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ถึงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

   - ชุมชนโบราณยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ถึงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

   - ชุมชนโบราณยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ถึงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานีและสายบุรี

   - ชุมชนโบราณยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ถึงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ในพื้นที่ลุ่มน้ำบางนราและลุ่มน้ำโกลก

 

บทที่ 5 บทวิเคราะห์และสรุป

 - พัฒนาการทางวัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย

 - การติดต่อแลกเปลี่ยนสินค้ากับชุมชนใกล้เคียงในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

 - พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

 

บรรณานุกรม

 

ประวัติผู้วิจัย

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส การค้าทางไกล ภาคใต้ตอนล่าง

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ศรีวิชัย ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

จำนวนผู้เข้าชม

327

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

26 ก.พ. 2566

พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

  • พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
  • ผู้เขียน
    ศิริพร ลิ่มวิจิตรวงศ์

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2553 (2010)

    จำนวนหน้า
    317

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

     

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

     

    กิตติกรรมประกาศ

     

    สารบัญภาพ

     

    สารบัญแผนที่

     

    บทที่ 1 บทนำ

     - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

     - ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

     - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

     - ขอบเขตของการศึกษา

     - ขั้นตอนของการศึกษา

     - วิธีการศึกษา

     

    บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม และกรอบแนวคิดในการศึกษา

     - ทบทวนวรรณกรรม

       - การศึกษาในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

       - การศึกษาในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานีและสายบุรี

       - การศึกษาในพื้นที่ลุ่มน้ำบางนราและลุ่มน้ำโกลก

     - แนวคิดและกรอบการศึกษาทางโบราณคดีในการศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

     - การกำหนดระยะเวลาและลักษณะสำคัญทางวัฒนธรรมในการศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

     

    บทที่ 3 สภาพภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

     - ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและจังหวัดสงขลา

     - ลุ่มน้ำปัตตานีและลุ่มน้ำสายบุรี (จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลาและนราธิวาส)

     - ลุ่มน้ำบางนรา-ลุ่มน้ำโกลก จังหวัดนราธิวาส

     

    บทที่ 4 ชุมชนโบราณและหลักฐานทางโบราณคดีที่พบในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของพุทธศตวรรษที่ 19

     - ชุมชนโบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์

     - ชุมชนโบราณยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ถึงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

       - ชุมชนโบราณยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ถึงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

       - ชุมชนโบราณยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ถึงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ในพื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานีและสายบุรี

       - ชุมชนโบราณยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ถึงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ในพื้นที่ลุ่มน้ำบางนราและลุ่มน้ำโกลก

     

    บทที่ 5 บทวิเคราะห์และสรุป

     - พัฒนาการทางวัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย

     - การติดต่อแลกเปลี่ยนสินค้ากับชุมชนใกล้เคียงในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

     - พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

     

    บรรณานุกรม

     

    ประวัติผู้วิจัย


  • บทคัดย่อ
  • วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรม ของชุมชนโบราณก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่จังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส โดยแบ่งพื้นที่ทางวัฒนธรรมออกตามสภาพลุ่มน้ำ ได้แก่ พื้นที่ลุ่มน้ำ ทะเลสาบสงขลา พื้นที่ลุ่มน้ำปัตตานี – สายบุรี และพื้นที่ลุ่มน้ำบางนราและลุ่มน้ำโกลก

     

    ผลการศึกษาพบว่าพัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองโบราณและชุมชนโบราณในพื้นที่ดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมทวาราวดี วัฒนธรรมศรีวิชัยและวัฒนธรรมเขมร โดยมีลักษณะสำคัญทางวัฒนธรรมดังนี้

      1. แบบแผนการตั้งถิ่นฐาน พบการตั้งถิ่นฐานทั้งในระบบของคูน้ำคันดิน และรูปแบบการตั้งถิ่นฐานที่ไม่มีระบบคูน้ำคันดิน

      2. รูปแบบการดำรงชีวิต พบหลักฐานทางโบราณคดีที่บ่งชี้ว่าชุมชนโบราณต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 มีรูปแบบการดำรงชีวิตที่คล้ายคลึงกัน

      3. ความเชื่อและศาสนา มีการรับอิทธิพลทางศาสนาจากภายนอกเข้ามาในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างตั้งแต่สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ โดยระยะแรกนับถือทั้งพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์-ฮินดูควบคู่กัน ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา จึงให้ความสำคัญกับศาสนาพุทธมากกว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อย่างชัดเจน

      4. การค้าและการอุตสาหกรรม พบร่องรอยชุมชนโบราณและเมืองโบราณที่เป็นแหล่งการค้าและอุตสาหกรรมที่สำคัญซึ่งมีบทบาทในระบบการค้าระหว่างซีกโลกตะวันออกและซีกโลกตะวันตกในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 หลายแห่ง


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การค้าทางไกล, การตั้งถิ่นฐาน, ศาสนา,

    ยุคสมัย
    สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ศรีวิชัย ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

    คำสำคัญ
    จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส การค้าทางไกล ภาคใต้ตอนล่าง


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 26 ก.พ. 2566
    จำนวนผู้เข้าชม : 327