ผู้เขียน | ประภัสสร์ ชูวิเชียร |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราชกับการวิเคราะห์ด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | ประวัติศาสตร์ศิลปะ |
สาขาวิชา | ประวัติศาสตร์ศิลปะ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2547 (2004) |
จำนวนหน้า | 246 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญแผนที่
สารบัญแผนผัง
สารบัญภาพ
สารบัญภาพประกอบ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
สมมติฐานของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ขั้นตอนของการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 ข้อมูลเบื้องต้นของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช และการศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับองค์พระบรมธาตุเจดีย์
ที่ตั้ง
โบราณสถานและสิ่งก่อสร้างภายในอาณาบริเวณของพระบรมธาตุเจดีย์
ประวัติความเป็นมาและปัญหาเกี่ยวกับการสร้างพระบรมธาตุ
จากหลักฐานเอกสารด้านตำนานและจารึก
การศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
บทที่ 3 การวิเคราะห์องค์พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
การวิเคราะห์รูปแบบและกำหนดอายุขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ในสมัยแรกสร้าง
รูปแบบของพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
สถาปัตยกรรมที่มีอิทธิพลต่อการสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
การวิเคราะห์
วิเคราะห์สรุปเกี่ยวกับรูปแบบและอายุสมัยของพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช
การวิเคราะห์รูปแบบและกำหนดอายุเจดีย์รายทรงปราสาทที่เชื่อว่าเป็นแบบจำลองของพระบรมธาตุเจดีย์องค์เดิม
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของหลักฐานต่างๆที่นำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับ พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
บทที่ 4 การวิเคราะห์หลักฐานการบูรณะเพิ่มเติมสิ่งก่อสร้างในอาณาบริเวณของ องค์พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช
โบราณสถานที่สร้างเสริมขึ้นภายในบริเวณองค์พระบรมธาตุเจดีย์
ซุ้มเรือนแก้วและพระพุทธรูปประดับส่วนฐานของพระบรมธาตุเจดีย์
วิหารพระทรงม้าและวิหารเขียน
บันไดทางขึ้นลานประทักษิณ
วิหารโพธิ์ลังกา
วิหารพระธรรมศาลาและระเบียงคด
พระวิหารหลวง
เจดีย์ราย
ประเด็นของการเปลี่ยนแปลงฐานะขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช จาก“มหาสถูป"ภายใต้อิทธิพลของวัฒนธรรมลังกา ไปเป็น“พระมหาธาตุเจดีย์”ในวัฒนธรรมของอยุธยา
บทที่ 5 บทสรุป
บรรณานุกรม
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญแผนที่
สารบัญแผนผัง
สารบัญภาพ
สารบัญภาพประกอบ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
สมมติฐานของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ขั้นตอนของการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 ข้อมูลเบื้องต้นของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช และการศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับองค์พระบรมธาตุเจดีย์
ที่ตั้ง
โบราณสถานและสิ่งก่อสร้างภายในอาณาบริเวณของพระบรมธาตุเจดีย์
ประวัติความเป็นมาและปัญหาเกี่ยวกับการสร้างพระบรมธาตุ
จากหลักฐานเอกสารด้านตำนานและจารึก
การศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
บทที่ 3 การวิเคราะห์องค์พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
การวิเคราะห์รูปแบบและกำหนดอายุขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ในสมัยแรกสร้าง
รูปแบบของพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
สถาปัตยกรรมที่มีอิทธิพลต่อการสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
การวิเคราะห์
วิเคราะห์สรุปเกี่ยวกับรูปแบบและอายุสมัยของพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช
การวิเคราะห์รูปแบบและกำหนดอายุเจดีย์รายทรงปราสาทที่เชื่อว่าเป็นแบบจำลองของพระบรมธาตุเจดีย์องค์เดิม
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของหลักฐานต่างๆที่นำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับ พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช
บทที่ 4 การวิเคราะห์หลักฐานการบูรณะเพิ่มเติมสิ่งก่อสร้างในอาณาบริเวณของ องค์พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช
โบราณสถานที่สร้างเสริมขึ้นภายในบริเวณองค์พระบรมธาตุเจดีย์
ซุ้มเรือนแก้วและพระพุทธรูปประดับส่วนฐานของพระบรมธาตุเจดีย์
วิหารพระทรงม้าและวิหารเขียน
บันไดทางขึ้นลานประทักษิณ
วิหารโพธิ์ลังกา
วิหารพระธรรมศาลาและระเบียงคด
พระวิหารหลวง
เจดีย์ราย
ประเด็นของการเปลี่ยนแปลงฐานะขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช จาก“มหาสถูป"ภายใต้อิทธิพลของวัฒนธรรมลังกา ไปเป็น“พระมหาธาตุเจดีย์”ในวัฒนธรรมของอยุธยา
บทที่ 5 บทสรุป
บรรณานุกรม
ประวัติผู้วิจัย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสนอมุมมองในการวิเคราะห์ด้านประวัติศาสตร์ศิลปะขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช เนื่องจากการศึกษาที่ผ่านมาอิงอยู่กับข้อมูลเอกสารตำนานเป็นหลัก ทำให้ไม่สามารถตรวจสอบถึงอายุการสร้างที่แท้จริงขององค์พระบรมธาตุได้ จากการวิเคราะห์ ทำให้สามารถคลี่คลายประเด็นปัญหาขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ออกเป็น 2 ประเด็นใหญ่ ๆ คือ 1. องค์พระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช ได้รับการสร้างขึ้นเป็นครั้งแรกในห้วงเวลาพุทธศตวรรษที่ 18 โดยได้รับอิทธิพลด้านรูปแบบจากเจดีย์ระดับ “มหาสถูป” ของลังกาในช่วงพุทธศตวรรษเดียวกันมาผสมผสานกับรูปแบบของสถาปัตยกรรมศิลปะศรีวิชัยที่พบในภาคใต้ของประเทศไทย การใช้รูปแบบของเจดีย์ในศิลปะลังกาผสมกับศิลปะในท้องถิ่นเช่นนี้ ได้พบตัวอย่างอยู่ในศิลปะพุกามในช่วงระยะเวลาใกล้เคียงกันด้วย ส่วนการซ่อมแซมองค์พระบรมธาตุเจดีย์และสิ่งก่อสร้างในอาณาบริเวณโดยรอบเชื่อว่าเกิดขึ้นในสมัยอยุธยาเป็นส่วนใหญ่ 2. เจดีย์รายทรงปราสาท ที่ตั้งอยู่บริเวณนอกระเบียงคดด้านทิศตะวันออกของพระบรมธาตุเจดีย์ นครศรีธรรมราช ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นแบบจำลองของพระบรมธาตุเจดีย์องค์เดิมในศิลปะศรีวิชัย แท้จริงแล้วเป็นเจดีย์รายที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 22-23 3. องค์พระบรมธาตุเจดีย์ตั้งแต่สมัยแรกสร้าง น่าจะมีฐานะเป็น “มหาสถูป” ที่ตั้งอยู่ภายนอกเมืองตามแบบของลังกา จนกระทั่งอยุธยาได้เข้ามามีบทบาทต่อเมืองนครศรีธรรมราชในพุทธศตวรรษที่ 19-20 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะของพระบรมธาตุเจดีย์ให้เป็น “พระมหาธาตุ” ที่ตั้งอยู่ในใจกลางเมือง