ผู้เขียน | วราภรณ์ สุวัฒนโชติกุล |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | การศึกษาเปรียบเทียบสถาปัตยกรรมวัดเเก้วเเละวัดหลง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กับสถาปัตยกรรมจันทิ ชวาภาคกลาง ประเทศอินโดนีเซีย |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | ศิลปสถาปัตยกรรม |
สาขาวิชา | ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2558 (2021) |
จำนวนหน้า | 467 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญภาพ
สารบัญแผนที่
สารบัญลายเส้น
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาของโครงการและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ของการศึกษา
สมมติฐานการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
วิธีดำเนินการศึกษา
ข้อจำกัดทางการศึกษา
ข้อตกลงเบื้องต้น
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม สมมุติฐานและทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ชาตินิยมของการศึกษาประวัติศาสตร์สู่การศึกษาประวัติศาสตร์ศรีวิชัยแบบองค์รวม
ทบทวนทฤษฎีวัฒนธรรมศึกษาและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์วัฒนธรรม
บทที่ 3 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของรัฐการค้าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองไชยากับอาณาจักรจามปาและชวาในสมัยศรีวิชัย
การค้าทางทะเลของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และการก่อตัวขึ้นของอาณาจักรศรีวิชัย
เครือข่ายการค้าศรีวิชัยทางบก
รูปแบบทางสังคมและการปกครองของ “ศรีวิชัย”
ศาสนาในอาณาจักรศรีวิชัย
พระพุทธศาสนาและสมาคมพ่อค้าจากอินเดียใต้
การปรับตัวของกลุ่มพราหมณ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การล่มสลายของอาณาจักรศรีวิชัย
ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองไชยากับอาณาจักรจามปาและชวาในสมัยศรีวิชัย
ประวัติศาสตร์เมืองไชยาก่อนสมัยศรีวิชัย ชุมชนโบราณในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
เมืองไชยาในฐานะอาณาจักรตุนซุนหรือตุ้นซวิ่นและการเข้ามามีอิทธิพลของ อาณาจักรจามปา
เมืองไชยาสมัยศรีวิชัย
บทที่ 4 ประวัติศาสตร์อาณาจักรจามปา: ศาสนา ศิลปะ สถาปัตยกรรม
ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
การล่มสลายของอาณาจักรจามปา
สภาพสังคมและวัฒนธรรมของอาณาจักรจามปา
ศาสนาในอาณาจักรจามปา
ศาสนาพุทธในอาณาจักรจามปา
ศิลปะและสถาปัตยกรรม
การเลือกทำเลที่ตั้งในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมของอาณาจักรจามปา
การแบ่งยุคสมัยทางศิลปะของอาณาจักรจา
วัสดุและการก่อสร้าง
สรุปพัฒนาการด้านสถาปัตยกรรมของอาณาจักรจามปา
บทที่ 5 รูปเงาศิลปะจามที่ไชยา: การวิเคราะห์ใหม่พระบรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศิลปะจามที่เมืองไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
วัดถ้ำคูหา อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศิลปวัตถุ
รูปเงาศิลปะจามที่พระบรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
วิเคราะห์องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระบรมธาตุไชยา
โครงสร้าง การก่ออิฐและการประดับผนังอาคารของพระบรมธาตุไชยา
บทที่ 6 จันทิของราชวงศ์ไศเลนทร์ในชวาภาคกลาง
ประวัติความเป็นมาของราชวงศ์ไศเลนทร์
ความสัมพันธ์ระหว่างราชวงศ์ไศเลนทร์ที่ชวาและไชยา
การสิ้นสุดลงของราชวงศ์ไศเลนทร์
ที่มาของ “จันทิ” ในชวาภาคกลาง
คติ สัญลักษณ์และบทบาททางสถาปัตยกรรมของจันทิในชวาภาคกลาง
การแบ่งองค์ประกอบอาคารของจันทิ
องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของจันทิ
ประเภทของจันทิในชวาภาคกลาง
จันทิในศาสนาฮินดู
จันทิอรชุน (Candi Arjuno)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
จันทิภีมะ (Candi Bima)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
จันทิปรัมบานัน (Candi Prambanan)
จันทิศิวะ (Candi Siwa)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
จันทิวิษณุ (Candi Wisnu)
จันทิพระพรหม (Candi Brahma)
จันทิโคนนทิ (Candi Nandi)
จันทิครุฑ (Candi Garuda)
จันทิหงส์ (Candi Angsa)
จันทิ Apit
จันทิบริวาร (Candi Perwara)
จันทิในพุทธศาสนา
บุโรพุทโธ (Borobudur)
คติ สัญลักษณ์ ความหมาย
ลักษณะและรูปแบบทางสถาปัตยกรรม
ภาพสลักนูนต่ำของบุโรพุทโธ (Borobudur)
โทรณะของบุโรพุทโธ (Borobudur)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิเมนดุต (Candi Mendut)
ประติมากรรมภายในจันทิเมนดุต (Candi Mendut)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิปะวน (Candi Pawon)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิส่าหรี (Candi Sari)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิเพลาสัน (Candi Plaosan)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิเซว (Candi Sewu)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิบุบราห์ (Candi Bubrah)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิลัมบัง (Candi Lumbung)
บทที่ 7 จันทิกะลาสัน: กรณีศึกษาการขึ้นรูปแบบสถาปัตยกรรมวัดแก้วและวัดหลง จังหวัด สุราษฎร์ธานี
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
วิเคราะห์ส่วนยอดอาคารของจันทิกะลาสัน (Candi Kalasan)
ประติมากรรมพระพุทธรูปประเภทพระธยานิพุทธของจันทิกะลาสัน (Candi Kalasan)
ประติมากรรมภายในห้องครรภคฤหประธานของจันทิกะลาสัน (Candi Kalasan)
บทที่ 8 การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมวัดแก้วและวัดหลง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
วัดเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หลักฐานทางโบราณคดี
การขุดค้นทางโบราณคดี
วัดแก้ว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หลักฐานทางโบราณคดี
อาคารวัดแก้ว ด้านทิศตะวันออก
อาคารวัดแก้ว ด้านทิศเหนือ
อาคารวัดแก้ว ด้านทิศตะวันตก
อาคารวัดแก้ว ด้านทิศใต้
โบราณวัตถุสำคัญ
การขุดค้นทางโบราณคดี
วัดหลง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หลักฐานทางโบราณคดี
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
อาคารวัดหลง ด้านทิศเหนือ
อาคารวัดหลง ด้านทิศตะวันตก
อาคารวัดหลง ด้านทิศใต้
ศิลปวัตถุที่พบ
การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมวัดแก้วและวัดหลง เมืองไชยา
วิเคราะห์เปรียบเทียบพระบรมธาตุไชยากับกลุ่มอาคารวัดเวียง วัดแก้วและวัด หลง เมืองไชยา
บทที่ 9 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญภาพ
สารบัญแผนที่
สารบัญลายเส้น
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาของโครงการและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ของการศึกษา
สมมติฐานการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
วิธีดำเนินการศึกษา
ข้อจำกัดทางการศึกษา
ข้อตกลงเบื้องต้น
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม สมมุติฐานและทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ชาตินิยมของการศึกษาประวัติศาสตร์สู่การศึกษาประวัติศาสตร์ศรีวิชัยแบบองค์รวม
ทบทวนทฤษฎีวัฒนธรรมศึกษาและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์วัฒนธรรม
บทที่ 3 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของรัฐการค้าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองไชยากับอาณาจักรจามปาและชวาในสมัยศรีวิชัย
การค้าทางทะเลของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และการก่อตัวขึ้นของอาณาจักรศรีวิชัย
เครือข่ายการค้าศรีวิชัยทางบก
รูปแบบทางสังคมและการปกครองของ “ศรีวิชัย”
ศาสนาในอาณาจักรศรีวิชัย
พระพุทธศาสนาและสมาคมพ่อค้าจากอินเดียใต้
การปรับตัวของกลุ่มพราหมณ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การล่มสลายของอาณาจักรศรีวิชัย
ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองไชยากับอาณาจักรจามปาและชวาในสมัยศรีวิชัย
ประวัติศาสตร์เมืองไชยาก่อนสมัยศรีวิชัย ชุมชนโบราณในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
เมืองไชยาในฐานะอาณาจักรตุนซุนหรือตุ้นซวิ่นและการเข้ามามีอิทธิพลของ อาณาจักรจามปา
เมืองไชยาสมัยศรีวิชัย
บทที่ 4 ประวัติศาสตร์อาณาจักรจามปา: ศาสนา ศิลปะ สถาปัตยกรรม
ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
การล่มสลายของอาณาจักรจามปา
สภาพสังคมและวัฒนธรรมของอาณาจักรจามปา
ศาสนาในอาณาจักรจามปา
ศาสนาพุทธในอาณาจักรจามปา
ศิลปะและสถาปัตยกรรม
การเลือกทำเลที่ตั้งในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมของอาณาจักรจามปา
การแบ่งยุคสมัยทางศิลปะของอาณาจักรจา
วัสดุและการก่อสร้าง
สรุปพัฒนาการด้านสถาปัตยกรรมของอาณาจักรจามปา
บทที่ 5 รูปเงาศิลปะจามที่ไชยา: การวิเคราะห์ใหม่พระบรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศิลปะจามที่เมืองไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
วัดถ้ำคูหา อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศิลปวัตถุ
รูปเงาศิลปะจามที่พระบรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
วิเคราะห์องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของพระบรมธาตุไชยา
โครงสร้าง การก่ออิฐและการประดับผนังอาคารของพระบรมธาตุไชยา
บทที่ 6 จันทิของราชวงศ์ไศเลนทร์ในชวาภาคกลาง
ประวัติความเป็นมาของราชวงศ์ไศเลนทร์
ความสัมพันธ์ระหว่างราชวงศ์ไศเลนทร์ที่ชวาและไชยา
การสิ้นสุดลงของราชวงศ์ไศเลนทร์
ที่มาของ “จันทิ” ในชวาภาคกลาง
คติ สัญลักษณ์และบทบาททางสถาปัตยกรรมของจันทิในชวาภาคกลาง
การแบ่งองค์ประกอบอาคารของจันทิ
องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของจันทิ
ประเภทของจันทิในชวาภาคกลาง
จันทิในศาสนาฮินดู
จันทิอรชุน (Candi Arjuno)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
จันทิภีมะ (Candi Bima)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
จันทิปรัมบานัน (Candi Prambanan)
จันทิศิวะ (Candi Siwa)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
จันทิวิษณุ (Candi Wisnu)
จันทิพระพรหม (Candi Brahma)
จันทิโคนนทิ (Candi Nandi)
จันทิครุฑ (Candi Garuda)
จันทิหงส์ (Candi Angsa)
จันทิ Apit
จันทิบริวาร (Candi Perwara)
จันทิในพุทธศาสนา
บุโรพุทโธ (Borobudur)
คติ สัญลักษณ์ ความหมาย
ลักษณะและรูปแบบทางสถาปัตยกรรม
ภาพสลักนูนต่ำของบุโรพุทโธ (Borobudur)
โทรณะของบุโรพุทโธ (Borobudur)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิเมนดุต (Candi Mendut)
ประติมากรรมภายในจันทิเมนดุต (Candi Mendut)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิปะวน (Candi Pawon)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิส่าหรี (Candi Sari)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิเพลาสัน (Candi Plaosan)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิเซว (Candi Sewu)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิบุบราห์ (Candi Bubrah)
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมจันทิลัมบัง (Candi Lumbung)
บทที่ 7 จันทิกะลาสัน: กรณีศึกษาการขึ้นรูปแบบสถาปัตยกรรมวัดแก้วและวัดหลง จังหวัด สุราษฎร์ธานี
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
วิเคราะห์ส่วนยอดอาคารของจันทิกะลาสัน (Candi Kalasan)
ประติมากรรมพระพุทธรูปประเภทพระธยานิพุทธของจันทิกะลาสัน (Candi Kalasan)
ประติมากรรมภายในห้องครรภคฤหประธานของจันทิกะลาสัน (Candi Kalasan)
บทที่ 8 การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมวัดแก้วและวัดหลง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
วัดเวียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หลักฐานทางโบราณคดี
การขุดค้นทางโบราณคดี
วัดแก้ว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หลักฐานทางโบราณคดี
อาคารวัดแก้ว ด้านทิศตะวันออก
อาคารวัดแก้ว ด้านทิศเหนือ
อาคารวัดแก้ว ด้านทิศตะวันตก
อาคารวัดแก้ว ด้านทิศใต้
โบราณวัตถุสำคัญ
การขุดค้นทางโบราณคดี
วัดหลง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หลักฐานทางโบราณคดี
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
อาคารวัดหลง ด้านทิศเหนือ
อาคารวัดหลง ด้านทิศตะวันตก
อาคารวัดหลง ด้านทิศใต้
ศิลปวัตถุที่พบ
การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมวัดแก้วและวัดหลง เมืองไชยา
วิเคราะห์เปรียบเทียบพระบรมธาตุไชยากับกลุ่มอาคารวัดเวียง วัดแก้วและวัด หลง เมืองไชยา
บทที่ 9 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ประวัติผู้วิจัย
สถาปัตยกรรมศรีวิชัยในเมืองไชยานั้น นอกจากพระบรมธาตุไชยาแล้วยังมีสถาปัตยกรรมวัด แก้วและวัดหลง ที่แม้ปัจจุบันจะเหลือเพียงทรากอาคาร แต่ด้วยร่องรอยทางสถาปัตยกรรมที่ปรากฏ โดยเฉพาะ “สถูปเจดีย์แบบเอวคอด” ที่ประดับอยู่บนชั้นหลังคา อันถือเป็นรูปแบบศิลปะที่เชื่อมโยง ได้กับ “จันทิ” สถาปัตยกรรมศรีวิชัยของราชวงศ์ไศเลนทร์ในชวาภาคกลางองค์ประกอบทาง สถาปัตยกรรมที่สำคัญดังกล่าว ทำให้เกิดข้อสรุปในทางวิชาการตรงกันว่า สถาปัตยกรรมศรีวิชัยใน เมืองไชยา อันได้แก่ พระบรมธาตุไชยา และกลุ่มสถาปัตยกรรมวัดเวียง วัดแก้ว วัดหลงนั้น ถูกสร้าง ขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 14-15 โดยมีรูปแบบศิลปะที่เชื่อมโยงได้กับศิลปะศรีวิชัยของราชวงศ์ไศเลนทร์ ในชวาภาคกลาง การศึกษานี้ได้ใช้กระบวนการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม มาวิเคราะห์ สถาปัตยกรรมศรีวิชัยในเมืองไชยา จนนำมาสู่ข้อสันนิษฐานใหม่ที่ต่างไปจากเดิมว่า พระบรมธาตุไชยา น่าจะถูกสร้างขึ้นตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-13 ด้วยรูปแบบศิลปะจามแห่งอาณาจักรจามปา แต่มาถูกปรับแปลงให้เป็นสถาปัตยกรรมศรีวิชัยในพุทธศตวรรษที่ 14-15 โดยเพิ่มองค์ประกอบที่เป็น สถูปเจดีย์บนชั้นหลังคาทุกชั้นรวมทั้งบนยอดสูงสุดของอาคาร เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นช่วงเวลาเดียวกับ ที่มีการก่อสร้างกลุ่มสถาปัตยกรรมวัดเวียง วัดแก้วและวัดหลงบนพื้นที่เมืองไชยา ทั้งนี้พบว่าวัดแก้ว และวัดหลงซึ่งปัจจุบันยังเหลือร่องรอยให้ศึกษาได้บางส่วนนั้น มีแบบแผนการก่อสร้างเป็นแบบศิลปะ ชวา-ศรีวิชัย แต่รายละเอียด ฝีมือเชิงช่างและองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมมีรูปแบบศิลปะจามที่ ผสมผสานความเป็นท้องถิ่นไชยา นอกจากนี้ เมื่อทำการศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรมพระบรมธาตุไชยา วัดแก้วและวัดหลงควบคู่ไปกับการศึกษาหลักฐานด้านอื่น ๆ อาทิ จารึก จดหมายเหตุจากจีน ศิลปวัตถุ และลักษณะที่สำคัญทางภูมิศาสตร์ของเมืองไชยา ผ่านกรอบการศึกษาของทฤษฎีทางสังคมแนว วิพากษ์อย่าง “เศรษฐศาสตร์วัฒนธรรม” ได้นำมาสู่ข้อสันนิษฐานใหม่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศรีวิชัยใน เมืองไชยาว่า “ก่อนที่ไชยาจะถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรศรีวิชัยในพุทธศตวรรษที่ 14 นั้น พื้นที่แห่งนี้น่าจะเคยเป็นส่วนหนึ่งหรืออยู่ใต้อิทธิพลของอาณาจักรจามปามาก่อน”