ผู้เขียน | นภัคมน ทองเฝือ |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | “ลูกปัด” ภาพสะท้อนทางความเชื่อ สังคม และเศรษฐกิจโบราณในคาบสมุทรภาคใต้:กรณีศึกษาแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | โบราณคดี |
สาขาวิชา | โบราณคดี |
ระดับการศึกษา | ปริญญาเอก |
ปี | 2565 (2022) |
จำนวนหน้า | 500 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญแผนที่
สารบัญแผนผัง
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
สารบัญรูป
สารบัญแผนภูมิ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ขอบเขตของการศึกษา
วิธีการและหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวอย่างลูกปัด
ขั้นตอนของการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา
ข้อจำกัดของการศึกษา
ข้อตกลงเบื้องต้น
บทที่ 2 การศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย
ภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณในคาบสมุทรภาคใต้
สังเขปพัฒนาการของชุมชนโบราณในคาบสมุทรภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย
การศึกษาความสัมพันธ์ของเขาศรีวิชัยกับชื่อรัฐโบราณในเอกสารต่างชาติ
การศึกษาลำดับพัฒนาการและความสำคัญของเขาศรีวิชัย
เขาศรีวิชัยในเส้นทางการค้าข้ามคาบสมุทร
การขุดค้นทางโบราณคดีโดยกรมศิลปากร
หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ
บทที่ 3 ลูกปัดแก้วสมัยโบราณ: แนวคิด วิธีศึกษา และองค์ความรู้
ความหมายและความสำคัญของการศึกษาลูกปัด
วิธีการศึกษาลูกปัดแก้ว
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์
คุณลักษณะของแก้ว
เทคนิคการผลิตลูกปัดแก้ว
ลูกปัดอินโด-แปซิฟิก (Indo-Pacific Beads)
ลูกปัดแก้วในบริบทของโลกสมัยโบราณ
องค์ความรู้เกี่ยวกับลูกปัดแก้วสมัยโบราณในคาบสมุทรภาคใต้
การศึกษาลูกปัดแก้วในภาคใต้ของประเทศไทย
การศึกษาลูกปัดแก้วในภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศไทย
ลูกปัดแก้วในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทยที่คัดเลือกมาศึกษาเปรียบเทียบ
แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร
แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง
แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดหลง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีบ้านท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีเขาพระเหนอ อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีปากจั่น อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
บทที่ 4 การวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ
ของลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย
ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีในภาคใต้ของไทยที่วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ
แหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร
แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง
แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดหลง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีบ้านท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีเขาพระเหนอ อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีปากจั่น อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
สรุปผลการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัยและแหล่ง โบราณคดีในภาคใต้ของประเทศไทย
บทที่ 5 การวิเคราะห์ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัยด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของตัวอย่างลูกปัดแก้ว
แหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง
แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดหลง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีบ้านท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีเขาพระเหนอ อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีปากจั่น อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
การศึกษาร่องรอยบนพื้นผิวลูกปัดโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดชนิดฟิลด์ อิมิชชั่น Field Emission Scanning Electron Microscope (FE-SEM)
สรุปผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย และแหล่ง โบราณคดีในภาคใต้ของไทย
บทที่ 6 อภิปรายผลการศึกษา
ลักษณะทางกายภาพของลูกปัดแก้วในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทย
การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพของลูกปัดแก้ว
องค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้วในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทย
พัฒนาการการของลูกปัดแก้วในภาคใต้จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมี
การศึกษาเปรียบเทียบองค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้ว
ความสำคัญของลูกปัดแก้วในทางโบราณคดี
เศรษฐกิจการค้า
การค้าขายกับอินเดีย
การค้าขายกับจีน
การค้าขายกับตะวันออกกลาง
ลูกปัดแก้วในเส้นทางการค้าของโลก
เส้นทางสายไหม (Silk Road)
เส้นทางเดินเรือเลียบชายฝั่งทะเล
เส้นทางข้ามคาบสมุทร (Trans-Peninsula Routes)
ศาสนาและคติความเชื่อ
ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับบทบาทของลูกปัดแก้วบนเขาศรีวิชัย
ลูกปัดแก้วในบริบททางศาสนา
คติการถวายลูกปัดเป็นพุทธบูชาที่พบในพื้นที่อื่น ๆ ของโลก
สภาพสังคมและวัฒนธรรม
ลูกปัดเป็นเครื่องบอกความนิยม/ช่างฝีมือ/และแหล่งผลิต
ลูกปัดกับบริบทการใช้งานทางสังคม
สภาพสังคมวัฒนธรรมของผู้คนในเขาศรีวิชัยจากหลักฐานเอกสารของจีน
การติดต่อสัมพันธ์กับชุมชนในภูมิภาคและนอกภูมิภาค
แหล่งโบราณคดีในภาคใต้ของไทย.
แหล่งโบราณคดีในภูมิภาคอื่น ๆ ของไทย
แหล่งโบราณคดีในพื้นที่อื่น ๆ ของโลก
บทที่ 7 สรุปและเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
ข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญแผนที่
สารบัญแผนผัง
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
สารบัญรูป
สารบัญแผนภูมิ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ขอบเขตของการศึกษา
วิธีการและหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวอย่างลูกปัด
ขั้นตอนของการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา
ข้อจำกัดของการศึกษา
ข้อตกลงเบื้องต้น
บทที่ 2 การศึกษาที่ผ่านมาเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย
ภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณในคาบสมุทรภาคใต้
สังเขปพัฒนาการของชุมชนโบราณในคาบสมุทรภาคใต้ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย
การศึกษาความสัมพันธ์ของเขาศรีวิชัยกับชื่อรัฐโบราณในเอกสารต่างชาติ
การศึกษาลำดับพัฒนาการและความสำคัญของเขาศรีวิชัย
เขาศรีวิชัยในเส้นทางการค้าข้ามคาบสมุทร
การขุดค้นทางโบราณคดีโดยกรมศิลปากร
หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ
บทที่ 3 ลูกปัดแก้วสมัยโบราณ: แนวคิด วิธีศึกษา และองค์ความรู้
ความหมายและความสำคัญของการศึกษาลูกปัด
วิธีการศึกษาลูกปัดแก้ว
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์
คุณลักษณะของแก้ว
เทคนิคการผลิตลูกปัดแก้ว
ลูกปัดอินโด-แปซิฟิก (Indo-Pacific Beads)
ลูกปัดแก้วในบริบทของโลกสมัยโบราณ
องค์ความรู้เกี่ยวกับลูกปัดแก้วสมัยโบราณในคาบสมุทรภาคใต้
การศึกษาลูกปัดแก้วในภาคใต้ของประเทศไทย
การศึกษาลูกปัดแก้วในภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศไทย
ลูกปัดแก้วในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทยที่คัดเลือกมาศึกษาเปรียบเทียบ
แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร
แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง
แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดหลง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีบ้านท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีเขาพระเหนอ อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีปากจั่น อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
บทที่ 4 การวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ
ของลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย
ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีในภาคใต้ของไทยที่วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ
แหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร
แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง
แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดหลง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีบ้านท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีเขาพระเหนอ อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีปากจั่น อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
สรุปผลการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัยและแหล่ง โบราณคดีในภาคใต้ของประเทศไทย
บทที่ 5 การวิเคราะห์ลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัยด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของตัวอย่างลูกปัดแก้ว
แหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง
แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดหลง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โบราณสถานวัดพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
แหล่งโบราณคดีบ้านท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีเขาพระเหนอ อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
แหล่งโบราณคดีปากจั่น อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
การศึกษาร่องรอยบนพื้นผิวลูกปัดโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดชนิดฟิลด์ อิมิชชั่น Field Emission Scanning Electron Microscope (FE-SEM)
สรุปผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย และแหล่ง โบราณคดีในภาคใต้ของไทย
บทที่ 6 อภิปรายผลการศึกษา
ลักษณะทางกายภาพของลูกปัดแก้วในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทย
การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพของลูกปัดแก้ว
องค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้วในแหล่งโบราณคดีภาคใต้ของไทย
พัฒนาการการของลูกปัดแก้วในภาคใต้จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมี
การศึกษาเปรียบเทียบองค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้ว
ความสำคัญของลูกปัดแก้วในทางโบราณคดี
เศรษฐกิจการค้า
การค้าขายกับอินเดีย
การค้าขายกับจีน
การค้าขายกับตะวันออกกลาง
ลูกปัดแก้วในเส้นทางการค้าของโลก
เส้นทางสายไหม (Silk Road)
เส้นทางเดินเรือเลียบชายฝั่งทะเล
เส้นทางข้ามคาบสมุทร (Trans-Peninsula Routes)
ศาสนาและคติความเชื่อ
ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับบทบาทของลูกปัดแก้วบนเขาศรีวิชัย
ลูกปัดแก้วในบริบททางศาสนา
คติการถวายลูกปัดเป็นพุทธบูชาที่พบในพื้นที่อื่น ๆ ของโลก
สภาพสังคมและวัฒนธรรม
ลูกปัดเป็นเครื่องบอกความนิยม/ช่างฝีมือ/และแหล่งผลิต
ลูกปัดกับบริบทการใช้งานทางสังคม
สภาพสังคมวัฒนธรรมของผู้คนในเขาศรีวิชัยจากหลักฐานเอกสารของจีน
การติดต่อสัมพันธ์กับชุมชนในภูมิภาคและนอกภูมิภาค
แหล่งโบราณคดีในภาคใต้ของไทย.
แหล่งโบราณคดีในภูมิภาคอื่น ๆ ของไทย
แหล่งโบราณคดีในพื้นที่อื่น ๆ ของโลก
บทที่ 7 สรุปและเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
ข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ถึงคติความเชื่อ สภาพสังคม เศรษฐกิจการค้า และการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัยกับชุมชนทั้งในภูมิภาคและนอกภูมิภาค ผ่านการศึกษาและตีความจากหลักฐานทางโบราณคดีประเภท “ลูกปัดแก้ว” ที่พบในแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย และแหล่งโบราณคดีแห่งอื่น ๆ ในภาคใต้ของไทย ด้วยวิธีการศึกษาลักษณะทางกายภาพ และองค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้วด้วยเทคนิค XRF ผลการวิเคราะห์พบว่าในแหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย “ลูกปัดแก้ว” ไม่เพียงแสดงให้เห็นถึงการติดต่อค้าขายกับอินเดีย จีน ตะวันออกกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 5-9 เป็นต้นมา แต่ยังมีบทบาทสำคัญในฐานะวัตถุศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา และเป็นเครื่องบอกสถานภาพทางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มคนผู้ใช้ลูกปัด นอกจากนั้น จากการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของลูกปัดแก้ว พบความนิยมด้านสีของลูกปัดแก้วในภาคใต้ 11 สี ได้แก่ สีเหลือง สีส้ม สีแดง สีเขียว สีฟ้า สีน้ำเงิน สีม่วง สีน้ำตาล สีดำ สีขาว และแบบเส้นสี การวิเคราะห์ด้านรูปทรง พบรูปทรงลูกปัดแก้ว 8 รูปทรง ได้แก่ cylinder, cylinder disk, oblate, tube, annular, barrel, spherical และ collared ส่วนการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของลูกปัดแก้ว สามารถจัดแบ่งกลุ่มแก้วได้ 7 กลุ่ม คือ m-Na-Al, m-Na-Ca, v-Na-Ca, m-K-Ca-Al, m-K-Al, Mixed-alkali glass และ Pb ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบกับลูกปัดแก้วที่พบในพื้นที่อื่น ๆ ของโลก พบว่าลูกปัดแก้วในภาคใต้มีองค์ประกอบด้านรูปแบบและธาตุประกอบทางเคมีที่บ่งชี้ว่ามีแหล่งผลิตสำคัญอยู่ในอินเดีย จีน และตะวันออกกลาง อันแสดงให้เห็นถึงการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในภาคใต้ของไทย กับอินเดีย จีน ตะวันออกกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนแสดงให้เห็นถึงรูปแบบความนิยมและความแพร่หลายของลูกปัดแก้วในภาคใต้ของไทย ในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ได้เป็นอย่างดี