หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัยประวัติศาสตร์ก่อน พุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี

การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัยประวัติศาสตร์ก่อน พุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี

การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัยประวัติศาสตร์ก่อน พุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี

ผู้เขียน ดีบุก เต็มมาศ
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัยประวัติศาสตร์ก่อน พุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ บัณฑิตวิทยาลัย
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวััติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2558 (2015)
ภาษา ภาษาไทย

สารบัญ

1.บทนำ

2.ประวัติการศึกษาที่ผ่านมา

3.สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดตรัง

4.หลักฐานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับชุมชนโบราณในบริเวณพื้นที่ลุ่มแม่น้ำตรัง

5.หลักฐานทางโบราณคดีที่พบบริเวณลุ่มแม่น้ำตรังในสมัยประวัติศาสตร์ฺ

6.ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการตั้งถิ่นฐานมนบริเวณแม่น้ำตรัง

7.สรุป

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ชุมชนโบราณ ตรัง แม่น้ำตรัง

จำนวนผู้เข้าชม

18

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

29 พ.ย. 2567

การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัยประวัติศาสตร์ก่อน พุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี

  • การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัยประวัติศาสตร์ก่อน พุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี
  • ผู้เขียน
    ดีบุก เต็มมาศ

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัยประวัติศาสตร์ก่อน พุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    บัณฑิตวิทยาลัย

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวััติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2558 (2015)

    จำนวนหน้า

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • 1.บทนำ

    2.ประวัติการศึกษาที่ผ่านมา

    3.สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดตรัง

    4.หลักฐานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับชุมชนโบราณในบริเวณพื้นที่ลุ่มแม่น้ำตรัง

    5.หลักฐานทางโบราณคดีที่พบบริเวณลุ่มแม่น้ำตรังในสมัยประวัติศาสตร์ฺ

    6.ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการตั้งถิ่นฐานมนบริเวณแม่น้ำตรัง

    7.สรุป


  • บทคัดย่อ
  • การศึกษาเรื่องพัฒนาการของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรังในสมัย ประวัติศาสตร์ก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานทางโบราณคดี มีจุดม่งหมายส้าคัญเพี่อศึกษาพัฒนาการตั้งถิ่นฐาน และพัฒนาการการใช้พื้นที่ของชุมชนที่ตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้้าตรัง ข้อมูลที่ ได้จากการศึกษามาจากหลักฐานโบราณคดีประเภทต่างๆได้แก่โบราณวัตถุ โบราณสถานที่พบจาก การส้ารวจบริเวณลุ่มแม่น้้าตรัง จังหวัดตรัง ผลการศึกษาพบร่องรอยการใช้งานพื้นที่ของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้้าตรัง ใน 3 ช่วงเวลาได้แก่ 1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่ 2.สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 -18 3.สมัยสมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์ตอนต้น ดังนี้ 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่ ในบริเวณลุ่มแม่น้้าตรังนั้นพบหลักฐานการอยู่อาศัยของมนุษย์ในถ้้าหรือเพิงผาบนภูเขาหินปูนที่ตั้งอยู่ใกล้กับแม่น้้าตรังหรือล้าน้้าสาขาในบริเวณพื้นที่อ้าเภอห้วยยอดและด้านทิศเหนือของอ้าเภอเมือง 2. สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 – 18 พบหลักฐานโบราณวัตถุในศาสนาพุทธในถ้้าหินปูนบริเวณพื้นที่อ้าเภอห้วยยอด ในช่วงสมัยนี้ชุมชนโบราณในสมัยนี้ท้าหน้าที่ เป็นเมืองท่าฝั่งตะวันตกให้กับชุมชนโบราณที่มีขนาดใหญ่กว่าในฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรไทย 3. สมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์ตอนต้น (พุทธศตวรรษที่ 19 -24) พบชุมชนโบราณ 2 แหล่ง บริเวณอ้าเภอเมืองและอ้าเภอรัษฎา ในช่วงสมัยนี้ ชุมชนโบราณที่พบในลุ่มแม่น้้าตรังนั้น เป็นชุมชนบริวารของชุมชนโบราณในจังหวัดพัทลุงและจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยท้าหน้าที่เป็น เมืองท่าฝั่งตะวันตก


    ห้องสมุดแนะนำ

    ลิงก์ที่มา
    -

    ประเด็นสำคัญ
    การตั้งถิ่นฐาน,

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ
    ชุมชนโบราณ ตรัง แม่น้ำตรัง


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 29 พ.ย. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 18