ผู้เขียน | เพลงเมธา ขาวหนูนา |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | โบราณคดี |
สาขาวิชา | โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2557 (2014) |
จำนวนหน้า | 424 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูลในการศึกษา
บทที่ 2 ชุมชนโบราณไชยา: สภาพภูมิศาสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ของชุมชนโบราณไชยาในปัจจุบัน
ธรณีสัณฐานและสภาพภูมิศาสตร์ของภาคใต้และ“ชุมชนโบราณไชยา”ในอดีต
บทที่ 3 ประวัติศาสตร์การศึกษาชุมชนโบราณไชยาที่ผ่านมา
ช่วงที่ 1 ปี พ.ศ. 2439 – 2460 ยุคเริ่มต้นของการศึกษา
ช่วงที่ 2 ปี พ.ศ. 2461 – 2530 ยุคตื่นตัวและรุ่งเรือง
ช่วงที่ 3 ปี พ.ศ. 2530 –2557 (ปัจจุบัน) ยุคงานเขียนประวัติศาสตร์
สรุปประเด็นผลการศึกษาที่ผ่านมา
บทที่ 4 ชุมชนโบราณไชยาก่อนพุทธศตวรรษที่ 24: หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร
จารึก
บันทึกการค้าและจดหมายเหตุ
ตำนาน/พงศาวดาร
กฎหมายตราสามดวง พระไอยการตำแหน่งนายทหารหัวเมือง
คัมภีร์ใบลานวัดโพธาราม ตาบลพุมเรียง อำเภอไชยา
บทที่ 5 แหล่งโบราณคดีช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 ในชุมชนโบราณไชยา
แหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์
แหล่งโบราณคดีสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
แหล่งโบราณคดีร่วมสมัยสุโขทัย- อยุธยากำหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ 20 -24
บทที่ 6 บทวิเคราะห์พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณไชยา
ก่อนพุทธศตวรรษที่ 24
ชุมชนโบราณไชยาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่ของชุมชน โบราณไชยา
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 1-9
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 10-13 (รัฐโบราณ)
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 14-16
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 17-18
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 19-24
บทที่ 7 สรุป
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูลในการศึกษา
บทที่ 2 ชุมชนโบราณไชยา: สภาพภูมิศาสตร์
สภาพภูมิศาสตร์ของชุมชนโบราณไชยาในปัจจุบัน
ธรณีสัณฐานและสภาพภูมิศาสตร์ของภาคใต้และ“ชุมชนโบราณไชยา”ในอดีต
บทที่ 3 ประวัติศาสตร์การศึกษาชุมชนโบราณไชยาที่ผ่านมา
ช่วงที่ 1 ปี พ.ศ. 2439 – 2460 ยุคเริ่มต้นของการศึกษา
ช่วงที่ 2 ปี พ.ศ. 2461 – 2530 ยุคตื่นตัวและรุ่งเรือง
ช่วงที่ 3 ปี พ.ศ. 2530 –2557 (ปัจจุบัน) ยุคงานเขียนประวัติศาสตร์
สรุปประเด็นผลการศึกษาที่ผ่านมา
บทที่ 4 ชุมชนโบราณไชยาก่อนพุทธศตวรรษที่ 24: หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร
จารึก
บันทึกการค้าและจดหมายเหตุ
ตำนาน/พงศาวดาร
กฎหมายตราสามดวง พระไอยการตำแหน่งนายทหารหัวเมือง
คัมภีร์ใบลานวัดโพธาราม ตาบลพุมเรียง อำเภอไชยา
บทที่ 5 แหล่งโบราณคดีช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 ในชุมชนโบราณไชยา
แหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์
แหล่งโบราณคดีสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
แหล่งโบราณคดีร่วมสมัยสุโขทัย- อยุธยากำหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ 20 -24
บทที่ 6 บทวิเคราะห์พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณไชยา
ก่อนพุทธศตวรรษที่ 24
ชุมชนโบราณไชยาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่ของชุมชน โบราณไชยา
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 1-9
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 10-13 (รัฐโบราณ)
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 14-16
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 17-18
ชุมชนโบราณไชยาช่วงพุทธศตวรรษที่ 19-24
บทที่ 7 สรุป
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมชุมชนโบราณไชยาก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 โดยใช้หลักฐานทางโบราณคดี สามารถแบ่งพัฒนาการเป็น 3 ระยะใหญ่ คือ
1) สมัยก่อนประวัติศาสตร์พบแหล่งโบราณคดียุคหินใหม่ราว 2,500 ปีมาแล้ว 1 แหล่ง พบขวานหินขัดประเภทต่าง ๆ ต่อมาช่วงพุทธศตวรรษที่ 1-9 พบหลักฐานในไชยาไม่ชัดเจนพบเพียงกลองมโหระทึกราว 200 ปีก่อนพุทธกาลถึงพุทธศตวรรษที่ 5 จำนวน 1 ใบ จากการที่ไม่ทราบที่มาชัดเจนและพบหลักฐานน้อยทำให้เรื่องราวพัฒนาการในช่วงนี้ยังคลุมเคลือ
2) สมัยประวัติศาสตร์ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 พบแหล่งโบราณคดี 21 แหล่ง พบร่องรอยการตั้งชุมชนราวพุทธศตวรรษที่ 10-13 มีการรับเอาศาสนาพุทธ (เถรวาทและมหายาน) ศาสนาพราหมณ์ (ไศวนิกายและไวษรพนิกาย) เข้ามาในชุมชน จากศิลปกรรมแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์กับอินเดีย ศรีลังกา และทวารวดีในภาคกลางของประเทศไทย ต่อมาช่วงพุทธศตวรรษที่ 14-15 ชุมชนโบราณไชยากลายเป็นเมืองท่าและศูนย์กลางศาสนาพุทธมหายานที่สำคัญ สันนิษฐานว่า ชุมชนมีความเกี่ยวข้องกับอาณาจักรศรีวิชัย พบหลักฐานการติดต่อกับอินเดีย จีน ตะวันออกกลาง อินโดนีเซีย (ชวา) และเวียดนาม (จาม) ต่อมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 17-18 จากจารึกุมชนโบราณไชยามีชื่อว่า “ครหิ” มีเสนาบดีปกครองภายใต้กษัตริย์ที่ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมร มีการจัดองค์ประกอบเมือง ทำผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีรูปแบบศิลปะสกุลช่างไชยาเป็นของตนเอง ช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 18 สันนิษฐานตกอยู่ใต้อำนาจของอาณาจักรตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช)
3) สมัยพุทธศตวรรษที่ 19-24 พบแหล่งโบราณคดี จำนวน 39 แหล่ง ราวพุทธศตวรรษที่ 20-24 เป็นต้นไปไชยามีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นตรีของอยุธยา นับถือพุทธเถรวาทลังกาวงศ์ รูปแบบศิลปะสกุลช่างไชยาช่วงนี้รับเอารับอิทธิพลศิลปะจากอยุธยามาผสม ชุมชนมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับจีน อังกฤษและพบสัมพันธ์กับชุมชนอื่นในภาคใต้จากการพบศิลปกรรมไชยาในชุมชนข้างเคียง