หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การศึกษารูปแบบลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีทุ่งตึก ตำบลเกาะคอเขา อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา

การศึกษารูปแบบลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีทุ่งตึก ตำบลเกาะคอเขา อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา

การศึกษารูปแบบลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีทุ่งตึก ตำบลเกาะคอเขา อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา

ผู้เขียน ศรัณยา สุวรรณาลัย
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษารูปแบบลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีทุ่งตึก ตำบลเกาะคอเขา อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ปี 2548 (2005)
จำนวนหน้า 209
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทนำ

- ที่มาและความสำคัญของปัญหา
- ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
- ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษา
-  ขอบเขตของการศึกษา
- ข้อตกลงเบื้องต้น

บทที่ ๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับลูกปัดและลูกปัดโบราณในภาคใต้
- ความหมายของลูกปัด
- ประเภทของลูกปัด
- ที่มาของแก้วและลูกปัดแก้ว ความเป็นมาของลูกปัดในภาคใต้
- รูปแบบต่างๆของลูกปัดในภาคใต้

บทที่ ๒ แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก
- ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดพังงา
- ข้อมูลทั่วไปของแหล่งโบราณคดีทุ่งตึก
ลักษณะและสภาพแวดล้อมของแหล่งประวัติการขุดค้นทางโบราณคดีและโบราณวัตถุที่พบ

Chapter 3 Study of glass bead patterns from excavations and ancient site decorations from the Tung Tuek archaeological site in 2003

Criteria for analyzing glass beads

Glass bead color classification
- Glass bead shape classification
- Glass bead size classification
- Glass bead data table and chart at Tung Tuek archaeological site
- Glass bead groups from excavations in Pit 1-Pit 2
Glass bead groups from excavations in decorations

M1-M6 archaeological sites and beads from T2 inspection excavations

Chapter 4 Summary

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ลูกปัดแก้ว ตะกั่วป่า

ยุคสมัย

พุทธศตวรรษที่16 พุทธศตวรรษที่13 พุทธศตวรรษที่15 พุทธศตวรรษที่14

จำนวนผู้เข้าชม

90

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

30 ส.ค. 2567

การศึกษารูปแบบลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีทุ่งตึก ตำบลเกาะคอเขา อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา

  • การศึกษารูปแบบลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีทุ่งตึก ตำบลเกาะคอเขา อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
  • ผู้เขียน
    ศรัณยา สุวรรณาลัย

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การศึกษารูปแบบลูกปัดแก้วจากแหล่งโบราณคดีทุ่งตึก ตำบลเกาะคอเขา อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดี

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาตรี

    ปี
    2548 (2005)

    จำนวนหน้า
    209

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทนำ

    - ที่มาและความสำคัญของปัญหา
    - ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
    - ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษา
    -  ขอบเขตของการศึกษา
    - ข้อตกลงเบื้องต้น

    บทที่ ๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับลูกปัดและลูกปัดโบราณในภาคใต้
    - ความหมายของลูกปัด
    - ประเภทของลูกปัด
    - ที่มาของแก้วและลูกปัดแก้ว ความเป็นมาของลูกปัดในภาคใต้
    - รูปแบบต่างๆของลูกปัดในภาคใต้

    บทที่ ๒ แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก
    - ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดพังงา
    - ข้อมูลทั่วไปของแหล่งโบราณคดีทุ่งตึก
    ลักษณะและสภาพแวดล้อมของแหล่งประวัติการขุดค้นทางโบราณคดีและโบราณวัตถุที่พบ

    Chapter 3 Study of glass bead patterns from excavations and ancient site decorations from the Tung Tuek archaeological site in 2003

    Criteria for analyzing glass beads

    Glass bead color classification
    - Glass bead shape classification
    - Glass bead size classification
    - Glass bead data table and chart at Tung Tuek archaeological site
    - Glass bead groups from excavations in Pit 1-Pit 2
    Glass bead groups from excavations in decorations

    M1-M6 archaeological sites and beads from T2 inspection excavations

    Chapter 4 Summary


  • บทคัดย่อ
  • ลูกปัดเป็นโบราณวัตถุอีกประเภทหนึ่งที่มักจะพบร่วมกับโบราณวัตถุอื่นๆในแหล่ง โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของ เครื่องประดับประเภทนี้ และด้วยรูปแบบสีสันที่แปลกตาและแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น โดยเฉพาะลูกปัดที่พบในแหล่งโบราณคดีภาคใต้มีรูปแบบและสีที่สวยงามกว่าลูกปัดในภาคอื่นๆ ลูกปัดที่พบส่วนใหญ่เป็นลูกปัดแก้ว เนื่องจากแก้วเป็นวัตถุดิบที่หาง่ายและสามารถตกแต่งลวดลาย ให้สวยงามแปลกตาได้หลากหลายรูปแบบ

    ในการขุดค้นที่แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา ครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ยังไม่มีการวิเคราะห์ถึงรูปแบบลูกปัดแก้วที่พบที่นี้ จึงทำให้ผู้ศึกษาสนใจนำประเด็นรูปแบบ ลูกปัดแก้วมาทำการศึกษาเพื่อที่จะได้เห็นถึงความนิยมและการติดต่อสัมพันธ์กันกับแหล่งโบราณคดี ริมชายฝั่งทะเลทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศได้อย่างชัดเจนมากขึ้น

    การศึกษาในครั้งนี้เน้นการวิเคราะห์รูปแบบลูกปัดแก้วด้วยตาเปล่าไม่ได้วิเคราะห์ด้วยวิธี ทางวิทยาศาสตร์ ข้อมูลที่ได้จึงไม่ละเอียดมากนักแต่หวังว่างานวิจัยฉบับนี้จะให้ประโยชน์กับผู้ที่ สนใจศึกษาถึงรูปแบบลูกปัดในภาคใต้ไม่มากก็น้อย


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    ศิลปะ, เครื่องประดับ,

    ยุคสมัย
    พุทธศตวรรษที่16 พุทธศตวรรษที่13 พุทธศตวรรษที่15 พุทธศตวรรษที่14

    คำสำคัญ
    ลูกปัดแก้ว ตะกั่วป่า


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 30 ส.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 90