หน้าแรก วิทยานิพนธ์ คติการวางฤกษ์ที่พบในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 - 18

คติการวางฤกษ์ที่พบในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 - 18

คติการวางฤกษ์ที่พบในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 - 18

ผู้เขียน นัยนา มั่นปาน
ชื่อวิทยานิพนธ์ คติการวางฤกษ์ที่พบในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 - 18
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดี
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2562 ()
จำนวนหน้า 216
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

สารบัญตาราง

สารบัญรูปภาพ

รายการอ้างอิง

ประวัติผู้เขียน

 

บทที่ 1 บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

1.2 ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

1.3 ประโยชน์ของการศึกษา

1.4 ขอบเขตของการศึกษา

1.4.1 ปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 15

1.4.2 ปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 16 – กลางพุทธศตวรรษที่ 17

1.4.3 ปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 17 – ต้นพุทธศตวรรษที่ 18

1.4.4 ปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 18

     1.4.4.1 กลุ่มศาสนสถานประเภทอาโรคยศาลา

     1.4.4.2 กลุ่มศาสนสถานประเภทบ้านมีไฟ

1.5 ขั้นตอนการศึกษา

1.6 วิธีการศึกษา

1.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา

1.8 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและแหล่งข้อมูล

1.9 ข้อจำกัดของการศึกษา

 

บทที่ 2 การวางฤกษ์ที่ปรากฏในวรรณกรรมทางศาสนา

2.1 วรรณกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

2.1.1 คัมภีร์มานสาระ (Mānasāra)

2.1.2 คัมภีร์มยมตะ (Mayamatam)

2.1.3 คัมภีร์กาศยปศิลปศาสตร์ (Kāśyapaśilpa śāstra)

2.2 คัมภีร์มัญชุศรีวาสตุศิลปศาสตร์

 

บทที่ 3 รูปแบบการวางฤกษ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จากหลักฐานทางโบราณคดี

3.1 การวางฤกษ์ในประเทศอินเดีย

3.1.1 การวางฤกษ์ในเทวาลัยศาสนาพราหมณ์

3.1.2 การวางฤกษ์ในพุทธสถาน

3.2 การวางฤกษ์ในประเทศศรีลังกา.

3.3 การวางฤกษ์ในประเทศอินโดนีเซีย.

3.3.1 ชวาภาคกลาง

3.3.2 ชวาภาคตะวันออก

3.4 การวางฤกษ์ในประเทศมาเลเซีย

3.5 การวางฤกษ์ในประเทศเวียดนาม

3.6 การวางฤกษ์ในประเทศกัมพูชา

 

บทที่ 4 หลักฐานการวางฤกษ์ที่พบในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

4.1 ปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 - กลางพุทธศตวรรษที่ 17 (สมัยบาปวน)

4.1.1 ปราสาทพนมวัน

4.1.2 ปราสาทพะโค

4.1.3 กู่เกษม

4.1.4 ปราสาทพิมาย

4.1.5 ปราสาทหนองหงส์

4.1.5 ปราสาทเมืองต่ำ

4.1.6 ปราสาทตาเมือนธม

4.1.7 กู่กาสิงห์

4.1.8 ปราสาททอง

4.2 ปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 17 - ต้นพุทธศตวรรษที่ 18 (สมัยนครวัด)

4.2.1 ปราสาทพนมรุ้ง

4.2.2 กู่บ้านปราสาท

4.2.3 กู่สวนแตง

4.2.4 ปรางค์กู่

4.3 ปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษ ที่ 18 (สมัยบายน)

4.3.1 ศาสนสถานประเภทอาโรคยศาลา

4.3.1.1 ปราสาทพลสงคราม

4.3.1.2 ปรางค์กู่บ้านหนองแฝก (ปรางค์กู่บ้านแท่น)

4.3.1.3 ปรางค์ครบุรี

4.3.1.4 กุฏิฤๅษีบ้านโคกเมือง

4.3.1.5 ปราสาทช่างปี่

4.3.1.6 กูโพนระฆัง

4.3.1.7 กู่คันธนาม

4.3.2 โบราณสถานประเภทบ้านมีไฟ

4.3.2.1 ปราสาทหนองกง

4.4 ปราสาทที่ไม่สามารถระบุอายุสมัยได้

4.4.1 ปราสาทบ้านหัวสระ

4.4.2 ปราสาทภูเพ็ก

4.5 หลักฐานทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับการวางฤกษ์ซึ่งไม่ระบุแหล่งที่มาชัดเจน

 

บทที่ 5บทวิเคราะห์

5.1 วิเคราะห์รูปแบบการวางฤกษ์

5.1.1 ประเภทของการวางฤกษ์

5.1.1.1 การวางฤกษ์โดยไม่ใช้แผ่นศิลาฤกษ์

การวางฤกษ์โดยการบรรจุวัตถุมงคล

การวางฤกษ์โดยใช้แผ่นหินหรือแผ่นอิฐ 4 แผ่นล้อมเป็นกรอบ

5.1.1.2 การวางฤกษ์โดยใช้แผ่นศิลาฤกษ์

5.1.2 การประดิษฐานรูปเคารพ

5.1.3 วัตถุมงคล

5.2 วิเคราะห์คติการวางฤกษ์

5.2.1. การวางฤกษ์แบบไม่ใช้แผ่นศิลาฤกษ์ที่ปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนา

5.2.2 การวางฤกษ์แบบใช้แผ่นศิลาฤกษ์ที่ปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนา

5.2.2 การประดิษฐานรูปเคารพที่ปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนา

5.2.3 ความหมายของวัตถุมงคลที่เกี่ยวข้องกับการวางฤกษ์

5.2.3.1 สัญลักษณ์มงคลบนแผ่นทอง

5.2.3.2 หินมีค่า

บทที่ 6 สรุปและเสนอแนะ

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ศิลปะเขมร ปราสาทหิน ศิลปะบาปวน ศิลปะบายน สถาปัตยกรรม

ยุคสมัย

พุทธศตวรรษที่18 เขมรสมัยพระนคร พุทธศตวรรษที่ 16 พุทธศตวรรษที่17 พุทธศตวรรษที่15

จำนวนผู้เข้าชม

80

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

9 ส.ค. 2567

คติการวางฤกษ์ที่พบในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 - 18

  • คติการวางฤกษ์ที่พบในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 - 18
  • ผู้เขียน
    นัยนา มั่นปาน

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    คติการวางฤกษ์ที่พบในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 - 18

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดี

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2562 ()

    จำนวนหน้า
    216

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

    กิตติกรรมประกาศ

    สารบัญ

    สารบัญตาราง

    สารบัญรูปภาพ

    รายการอ้างอิง

    ประวัติผู้เขียน

     

    บทที่ 1 บทนำ

    1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

    1.2 ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

    1.3 ประโยชน์ของการศึกษา

    1.4 ขอบเขตของการศึกษา

    1.4.1 ปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 15

    1.4.2 ปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 16 – กลางพุทธศตวรรษที่ 17

    1.4.3 ปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในราวกลางพุทธศตวรรษที่ 17 – ต้นพุทธศตวรรษที่ 18

    1.4.4 ปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 18

         1.4.4.1 กลุ่มศาสนสถานประเภทอาโรคยศาลา

         1.4.4.2 กลุ่มศาสนสถานประเภทบ้านมีไฟ

    1.5 ขั้นตอนการศึกษา

    1.6 วิธีการศึกษา

    1.7 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา

    1.8 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและแหล่งข้อมูล

    1.9 ข้อจำกัดของการศึกษา

     

    บทที่ 2 การวางฤกษ์ที่ปรากฏในวรรณกรรมทางศาสนา

    2.1 วรรณกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

    2.1.1 คัมภีร์มานสาระ (Mānasāra)

    2.1.2 คัมภีร์มยมตะ (Mayamatam)

    2.1.3 คัมภีร์กาศยปศิลปศาสตร์ (Kāśyapaśilpa śāstra)

    2.2 คัมภีร์มัญชุศรีวาสตุศิลปศาสตร์

     

    บทที่ 3 รูปแบบการวางฤกษ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จากหลักฐานทางโบราณคดี

    3.1 การวางฤกษ์ในประเทศอินเดีย

    3.1.1 การวางฤกษ์ในเทวาลัยศาสนาพราหมณ์

    3.1.2 การวางฤกษ์ในพุทธสถาน

    3.2 การวางฤกษ์ในประเทศศรีลังกา.

    3.3 การวางฤกษ์ในประเทศอินโดนีเซีย.

    3.3.1 ชวาภาคกลาง

    3.3.2 ชวาภาคตะวันออก

    3.4 การวางฤกษ์ในประเทศมาเลเซีย

    3.5 การวางฤกษ์ในประเทศเวียดนาม

    3.6 การวางฤกษ์ในประเทศกัมพูชา

     

    บทที่ 4 หลักฐานการวางฤกษ์ที่พบในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

    4.1 ปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 - กลางพุทธศตวรรษที่ 17 (สมัยบาปวน)

    4.1.1 ปราสาทพนมวัน

    4.1.2 ปราสาทพะโค

    4.1.3 กู่เกษม

    4.1.4 ปราสาทพิมาย

    4.1.5 ปราสาทหนองหงส์

    4.1.5 ปราสาทเมืองต่ำ

    4.1.6 ปราสาทตาเมือนธม

    4.1.7 กู่กาสิงห์

    4.1.8 ปราสาททอง

    4.2 ปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 17 - ต้นพุทธศตวรรษที่ 18 (สมัยนครวัด)

    4.2.1 ปราสาทพนมรุ้ง

    4.2.2 กู่บ้านปราสาท

    4.2.3 กู่สวนแตง

    4.2.4 ปรางค์กู่

    4.3 ปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยช่วงพุทธศตวรรษ ที่ 18 (สมัยบายน)

    4.3.1 ศาสนสถานประเภทอาโรคยศาลา

    4.3.1.1 ปราสาทพลสงคราม

    4.3.1.2 ปรางค์กู่บ้านหนองแฝก (ปรางค์กู่บ้านแท่น)

    4.3.1.3 ปรางค์ครบุรี

    4.3.1.4 กุฏิฤๅษีบ้านโคกเมือง

    4.3.1.5 ปราสาทช่างปี่

    4.3.1.6 กูโพนระฆัง

    4.3.1.7 กู่คันธนาม

    4.3.2 โบราณสถานประเภทบ้านมีไฟ

    4.3.2.1 ปราสาทหนองกง

    4.4 ปราสาทที่ไม่สามารถระบุอายุสมัยได้

    4.4.1 ปราสาทบ้านหัวสระ

    4.4.2 ปราสาทภูเพ็ก

    4.5 หลักฐานทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับการวางฤกษ์ซึ่งไม่ระบุแหล่งที่มาชัดเจน

     

    บทที่ 5บทวิเคราะห์

    5.1 วิเคราะห์รูปแบบการวางฤกษ์

    5.1.1 ประเภทของการวางฤกษ์

    5.1.1.1 การวางฤกษ์โดยไม่ใช้แผ่นศิลาฤกษ์

    การวางฤกษ์โดยการบรรจุวัตถุมงคล

    การวางฤกษ์โดยใช้แผ่นหินหรือแผ่นอิฐ 4 แผ่นล้อมเป็นกรอบ

    5.1.1.2 การวางฤกษ์โดยใช้แผ่นศิลาฤกษ์

    5.1.2 การประดิษฐานรูปเคารพ

    5.1.3 วัตถุมงคล

    5.2 วิเคราะห์คติการวางฤกษ์

    5.2.1. การวางฤกษ์แบบไม่ใช้แผ่นศิลาฤกษ์ที่ปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนา

    5.2.2 การวางฤกษ์แบบใช้แผ่นศิลาฤกษ์ที่ปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนา

    5.2.2 การประดิษฐานรูปเคารพที่ปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนา

    5.2.3 ความหมายของวัตถุมงคลที่เกี่ยวข้องกับการวางฤกษ์

    5.2.3.1 สัญลักษณ์มงคลบนแผ่นทอง

    5.2.3.2 หินมีค่า

    บทที่ 6 สรุปและเสนอแนะ


  • บทคัดย่อ
  • ในปราสาทเขมรแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย พบโบราณวัตถุประเภทหนึ่งที่นักวิชาการสันนิษฐานว่าเป็นแผ่นศิลาฤกษ์ แท่นหินบรรจุวัตถุมงคล และวัตถุมีค่าต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเพณีการวางฤกษ์ในศาสนสถาน ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาในเชิงลึกเกี่ยวกับโบราณวัตถุที่มีความเกี่ยวข้องกับการวางฤกษ์นี้ ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะและคติความเชื่อของแผ่นหิน แท่นหินและวัตถุมีค่าที่ใช้ในการวางฤกษ์ของปราสาทเขมรในดินแดนไทยแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15-18 (สมัยเมืองพระนคร) และเพื่ออธิบายถึงความเชื่อมโยงทางความเชื่อของผู้คนผ่านประเพณีในการสร้างสถาปัตยกรรม จากการวิเคราะห์หลักฐานที่พบปรากฏการวางฤกษ์แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ การวางฤกษ์แบบไม่ใช้แผ่นศิลาฤกษ์ ซึ่งพบในศาสนสถานเนื่องในศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ที่มีอายุในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 - 17 (สมัยบาปวน - นครวัด) และ การวางฤกษ์ที่ใช้แผ่นศิลาฤกษ์  ซึ่งสามารถแบ่งออกด้วยกันเป็น 2 รูปแบบใหญ่ แผ่นศิลาฤกษ์รูปแบบแรกมีลักษณะโดยรวมคือเป็นแผ่นหินทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตรงกลางเซาะร่องในแนวแกนตั้งและแกนนอน พบในปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 - 17 (สมัยบาปวน - นครวัด) ส่วนแผ่นศิลาฤกษ์อีกรูปแบบสันนิษฐานว่าอาจเคยมีฝาปิด โดยพบเฉพาะปราสาทเขมรที่สร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 (สมัยบายน) ในส่วนของแท่นหินบรรจุวัตถุมงคลนั้นใช้ในการบรรจุวัตถุมงคลให้แก่รูปเคารพซึ่งไม่จำเพาะศาสนาใดศาสนาหนึ่ง และใช้อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 16 - 18 (สมัยบาปวน - นครวัด - บายน) ทั้งนี้พบว่ามีรูปแบบความเชื่อดังกล่าวมีแนวคิดมาจากคัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์ที่ได้รับความนิยมในอินเดียตอนใต้ เช่น คัมภีร์มานสาระ คัมภีร์มยมตะ และคัมภีร์กาศยปศิลปศาสตร์ โดยแนวคิดในคัมภีร์ของศาสนาพราหมณ์นี้เชื่อว่ายังเป็นต้นแบบให้กับคัมภีร์ของพุทธศาสนานิกายมหายาน ได้แก่ คัมภีร์มัญชูศรีวาสตุศิลปศาสตร์ และยังสัมพันธ์กับรูปแบบที่พบศาสนสถานในประเทศอินเดีย ศรีลังกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม 


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    ศาสนา, ศิลปะ, เทคโนโลยี,

    ยุคสมัย
    พุทธศตวรรษที่18 เขมรสมัยพระนคร พุทธศตวรรษที่ 16 พุทธศตวรรษที่17 พุทธศตวรรษที่15

    คำสำคัญ
    ศิลปะเขมร ปราสาทหิน ศิลปะบาปวน ศิลปะบายน สถาปัตยกรรม


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 9 ส.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 80