ผู้เขียน | พิทักษ์ชัย จัตุชัย |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | การวิเคราะห์การใช้พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี : จากหลักฐานทางโบราณคดี |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | โบราณคดี |
สาขาวิชา | โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2553 () |
จำนวนหน้า | 252 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญภาพ
สารบัญแผนผัง
สารบัญลายเส้น
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ขั้นตอนการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
ภูพระบาท
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
การจัดกลุ่มแหล่งภาพเขียนสีและโบราณสถาน
บทที่ 3 ร่องรอยและหลักฐานทางโบราณคดี
กลุ่มที่ 1 ถ้ำโนนหินเกลี้ยง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มถ้ำดินเพียง
กลุ่มที่ 3 กลุ่มวัดพ่อตา-ลูกเขย
กลุ่มที่ 4 กลุ่มพระพุทธบาทบัวบก
กลุ่มที่ 5 กลุ่มห้วยหินลาด
กลุ่มที่ 6 กลุ่มโนนสาวเอ้
กลุ่มที่ 7 กลุ่มห้วยหินร่อง
กลุ่มที่ 8 กลุ่มพระพุทธบาทหลังเต่า
บทที่ 4 วิเคราะห์การใช้พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
ความหมายของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์
การใช้พื้นที่แหล่งภาพเขียนสีเพื่อการประกอบพิธีกรรม
ภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ภาพเขียนสีสมัยประวัติศาสตร์
การดัดแปลงเพิงหินให้เป็นศาสนสถาน
การกำหนดพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยใบเสมา
ความหมายของใบเสมา
คติการสร้างและการปักเสมาหิน
หน้าที่และความสำคัญของใบเสมา
ลักษณะและการกำหนดพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยใบเสมาในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
การกำหนดอายุสมัยของแหล่งโบราณคดีในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบา จากโบราณสถานและโบราณวัตถุ
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยทวารวดี
สมัยลพบุรี
สมัยล้านช้าง
สมัยรัตนโกสินทร์
สรุป
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญภาพ
สารบัญแผนผัง
สารบัญลายเส้น
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ขั้นตอนการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
ภูพระบาท
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
การจัดกลุ่มแหล่งภาพเขียนสีและโบราณสถาน
บทที่ 3 ร่องรอยและหลักฐานทางโบราณคดี
กลุ่มที่ 1 ถ้ำโนนหินเกลี้ยง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มถ้ำดินเพียง
กลุ่มที่ 3 กลุ่มวัดพ่อตา-ลูกเขย
กลุ่มที่ 4 กลุ่มพระพุทธบาทบัวบก
กลุ่มที่ 5 กลุ่มห้วยหินลาด
กลุ่มที่ 6 กลุ่มโนนสาวเอ้
กลุ่มที่ 7 กลุ่มห้วยหินร่อง
กลุ่มที่ 8 กลุ่มพระพุทธบาทหลังเต่า
บทที่ 4 วิเคราะห์การใช้พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
ความหมายของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์
การใช้พื้นที่แหล่งภาพเขียนสีเพื่อการประกอบพิธีกรรม
ภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ภาพเขียนสีสมัยประวัติศาสตร์
การดัดแปลงเพิงหินให้เป็นศาสนสถาน
การกำหนดพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยใบเสมา
ความหมายของใบเสมา
คติการสร้างและการปักเสมาหิน
หน้าที่และความสำคัญของใบเสมา
ลักษณะและการกำหนดพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยใบเสมาในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
การกำหนดอายุสมัยของแหล่งโบราณคดีในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบา จากโบราณสถานและโบราณวัตถุ
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยทวารวดี
สมัยลพบุรี
สมัยล้านช้าง
สมัยรัตนโกสินทร์
สรุป
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ประวัติผู้วิจัย
ารค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษาและวิเคราะห์การใช้พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี โดยทำการศึกษาจากการสำรวจเพิงหินแหล่งภาพเขียนสีและโบราณสถานในบริเวณเทือกเขาภูพระบาท ทั้งนี้เพื่อต้องการทราบถึงร่องรอยของการอยู่อาศัยและการใช้พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนาและความเชื่อ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท จากการศึกษาเพิงหินซึ่งเป็นแหล่งภาพเขียนสีและโบราณสถานในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท สามารถกำหนดระยะเวลาของการใช้พื้นที่ได้ 3 ยุคสมัย คือ 1. แหล่งภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 2. โบราณสถานสมัยทวารวดี-ลพบุรี และ 3. โบราณสถานสมัยล้านช้าง-รัตนโกสินทร์ แต่ทั้งนี้แหล่งภาพเขียนสีและโบราณสถานต่าง ๆ ดังกล่าวนั้นได้มีการใช้พื้นที่อย่างต่อเนื่องซ้ำซ้อนกันหลายยุคสมัย โดยเพิงหินหลายแห่งมีการดัดแปลงให้เป็นไปตามรูปแบบศิลปกรรมของตามยุคสมัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลทางวัฒนธรรมในบริเวณเทือกเขาภูพระบาท บริเวณเทือกเขาภูพระบาทมีร่องรอยของการใช้พื้นที่เพื่อการประกอบพิธีกรรมมาตั้งแต่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายจนถึงปัจจุบัน กล่าวคือ มีร่องรอยของการอยู่อาศัยและการประกอบพิธีกรรมในสมัยยุคเหล็ก (ราว 3,000-2,000 ปีมาแล้ว) การดัดแปลงเพิงหินให้เป็นศาสนสถานเนื่องในพระพุทธศาสนาในสมัยทวารวดี (ราวพุทธศตวรรษที่ 14-15) สมัยลพบุรี (ราวพุทธศตวรรษที่ 15-18) สมัยล้านช้าง (ราวพุทธศตวรรษที่ 19-21) และสมัยรัตนโกสินทร์ (ปัจจุบัน) ภายใต้บริบทของ “พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์” ที่เป็นบริเวณพื้นที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนที่ให้ความเคารพนับถือและมีการใช้บริเวณพื้นที่เพื่อการประกอบพิธีกรรม ซึ่งอาจเป็นของกลุ่มคนในท้องถิ่นหรือกลุ่มคนที่อยู่ห่างไกลแต่มีความเคารพนับถือต่อบริเวณพื้นที่ดังกล่าว โดยพื้นที่มีการใช้งานอย่างต่อเนื่องยาวนาน