หน้าแรก วิทยานิพนธ์ ศึึกษาศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญเพื่อการพัฒนาเครื่องเรือนร่วมสมัย

ศึึกษาศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญเพื่อการพัฒนาเครื่องเรือนร่วมสมัย

ศึึกษาศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญเพื่อการพัฒนาเครื่องเรือนร่วมสมัย

ผู้เขียน เกศิณีย์ เดชศักดาพร
ชื่อวิทยานิพนธ์ ศึึกษาศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญเพื่อการพัฒนาเครื่องเรือนร่วมสมัย
มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
คณะ ครุศาสตร์อุตสาหกรรม
สาขาวิชา เทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2561 (2018)
จำนวนหน้า 144
ภาษา ภาษาไทย

สารบัญ

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 3 วิธีดำเนินงานวิจัย

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

      4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และรูปแบบเครื่องเรือนของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

     4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านการพัฒนาเครื่องเรือนจากอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ 

     4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านประเมินความพึงพอใจของกลุ่มชาติพันธุ์มอญบางกระดี่

บทที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ศิลปวัฒนธรรมมอญ มอญ เครื่องเรือน ร่วมสมัย การพัฒนา

จำนวนผู้เข้าชม

57

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

26 ก.ค. 2567

ศึึกษาศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญเพื่อการพัฒนาเครื่องเรือนร่วมสมัย

  • ศึึกษาศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญเพื่อการพัฒนาเครื่องเรือนร่วมสมัย
  • ผู้เขียน
    เกศิณีย์ เดชศักดาพร

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    ศึึกษาศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญเพื่อการพัฒนาเครื่องเรือนร่วมสมัย

    มหาวิทยาลัย
    สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

    คณะ
    ครุศาสตร์อุตสาหกรรม

    สาขาวิชา
    เทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2561 (2018)

    จำนวนหน้า
    144

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทที่ 1 บทนำ

    บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

    บทที่ 3 วิธีดำเนินงานวิจัย

    บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

          4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และรูปแบบเครื่องเรือนของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

         4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านการพัฒนาเครื่องเรือนจากอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ 

         4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านประเมินความพึงพอใจของกลุ่มชาติพันธุ์มอญบางกระดี่

    บทที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล


  • บทคัดย่อ
  • การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ ศิลปะวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ 2) เพื่อพัฒนาเครื่องเรือนจากอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของกลุ่มชาติพันธุ์มอญบางกระดี่ที่มีต่อเครื่องเรือนประเภทโต๊ะเครื่องแป้ง มีวิธีการดำเนินการวิจัยโดยการศึกษาศิลปะวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์มอญจากผู้เชี่ยวชาญด้านนักประวัติศาสตร์มอญและนักอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมมอญ ศึกษาการออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเรือนโดยใช้ทฤษฎีการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพในการคิดวิเคราะห์เพื่อคัดเลือกรูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านนักประวัติศาสตร์และนักอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมมอญ ผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเพื่อนำมาสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ โดยใช้แบบสอบถาม เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

    ผลการวิจัยพบว่าสิ่งที่โดดเด่นชัดเจนคืองานสถาปัตยกรรม มีการสื่อสารวัฒนธรรมไว้อย่างเหนียวแน่น เนื่องจากจะปรากฏอยู่ตามวัดวาอาราม การออกแบบนำแนวคิดรูปทรงสถาปัตยกรรมมาใช้เป็นแนวคิดในการออกแบบโต๊ะเครื่องแป้งรูปทรง “เรือนยอด” คือมีลักษณะหลังคาที่มียอดแหลมต่อขึ้นไป โต๊ะเครื่องแป้งมีรูปแบบที่มีความสอดคล้องกับรูปแบสถาปัตยกรรมมอญ มีการพัฒนาโต๊ะเครื่องแป้งให้มีความร่วมสมัย มีฟังชั่นก์การใช้งานที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้อย่างครบถ้วน โดยประเมินความพึงพอใจของกลุ่มชาติพันธุ์มอญบางกระดี่ที่มีต่อเครื่องเรือนประเภทโต๊ะ
    เครื่องแป้งพบว่ามีผลรวมอยู่ในระดับที่พึงพอใจมาก ผลรวมอยู่ที่ค่าระดับ (� =4.00, S.D.=0.81)


    ห้องสมุดแนะนำ

    ลิงก์ที่มา
    -

    ประเด็นสำคัญ
    ศิลปะ, เทคโนโลยี,

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ
    ศิลปวัฒนธรรมมอญ มอญ เครื่องเรือน ร่วมสมัย การพัฒนา


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 26 ก.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 57