หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การศึกษาจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

การศึกษาจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

การศึกษาจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

ผู้เขียน สกลพัฒน์ โคตรตันติ
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญ
มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ
คณะ ศิลปกรรมศาสตร์
สาขาวิชา มานุษยดุริยางควิทยา
ระดับการศึกษา ปริญญาเอก
ปี 2562 (2019)
จำนวนหน้า 308
ภาษา ภาษาไทย

สารบัญ

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย

บทที่ 4 ผลการวิจัย

      4.1 ด้านความเป็นมาของจฺยามในกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

      4.2 ศึกษาการบรรเลงจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

มอญ เครื่องดนตรีมอญ ดนตรี ชาติพันธุ์มอญ จะเข้

จำนวนผู้เข้าชม

87

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

26 ก.ค. 2567

การศึกษาจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

  • การศึกษาจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญ
  • ผู้เขียน
    สกลพัฒน์ โคตรตันติ

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การศึกษาจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

    มหาวิทยาลัย
    ศรีนครินทรวิโรฒ

    คณะ
    ศิลปกรรมศาสตร์

    สาขาวิชา
    มานุษยดุริยางควิทยา

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาเอก

    ปี
    2562 (2019)

    จำนวนหน้า
    308

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทที่ 1 บทนำ

    บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

    บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย

    บทที่ 4 ผลการวิจัย

          4.1 ด้านความเป็นมาของจฺยามในกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

          4.2 ศึกษาการบรรเลงจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญ

    บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล


  • บทคัดย่อ
  • งานวิจัยเรื่องการศึกษาจฺยามกลุ่มชาติพันธุ์มอญเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มี
    วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาของจฺยามและศึกษาการบรรเลงจฺยามในกลุ่มชาติพันธุ์มอญ กำหนดพื้นที่วิจัยในชุมชนมอญในประเทศไทย ชุมชนมอญชายแดนไทยเมียนมาและชุมชนมอญ ในรัฐมอญ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ใช้ ระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยดุริยางควิทยา ผลการวิจัยพบว่าเครื่องดนตรีจฺยามไม่ปรากฎหลักฐานช่วงเวลาของการสร้างเครื่องดนตรีพบเพียง
    ตำนานความรักของเจ้าชายกับเจ้าหญิงและใช้จระเข้เป็ นพาหนะในการไปพบกัน ชาวมอญยกย่อง จระเข้ผู้มีความซื่อสัตย์และเสียสละ จึงสร้างเครื่องดนตรีรูปจระเข้และถือเป็นเครื่องดนตรีประจำชาติของชาวมอญ มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดที่กล่าวถึงเครื่องดนตรีจฺยามของมอญ
    ปรากฏในพงศาวดารจีนสมัยราชวงศ์ถัง (พ.ศ.1345) จฺยามมีบทบาทสำคัญด้านต่าง ๆ ต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรมและสังคมมอญ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับเครื่องดนตรีประเภทดีดวางราบกับพื้นใน ประเทศอินเดียและกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้การศึกษาการบรรเลงจฺยาม
    กลุ่มชาติพันธุ์มอญพบว่า การบรรเลงจฺยามชุมชนมอญในประเทศไทยเป็นเพลงที่ใช้ประกอบการละเล่นทะแยมอญ นิยมบรรเลงด้วยสายเป็นหลักและใช้สายทุ้มเป็นสายกระทบ ไม่นิยมใช้สายลวดและเทคนิคพิเศษ ชุมชนมอญชายแดนไทยเมียนมาและชุมชนมอญในรัฐมอญบรรเลงโดยดำเนินทำนองทั้ง 3 สาย มีการใช้เทคนิคการสะบัดและการขยี้ บทเพลงที่ใช้ในชุมชนมอญชายแดนไทยเมียนมาเป็นเพลงส าหรับประกอบการแสดง ส่วนบทเพลงที่ใช้ในชุมชนมอญในรัฐมอญเป็นเพลงที่ใช้ประกอบพิธีกรรมและบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ 


    ห้องสมุดแนะนำ

    ลิงก์ที่มา
    -

    ประเด็นสำคัญ
    ศิลปะ, เทคโนโลยี,

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ
    มอญ เครื่องดนตรีมอญ ดนตรี ชาติพันธุ์มอญ จะเข้


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 26 ก.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 87