หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การศึกษาคติความเชื่อของชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน กรณีศึกษาจากพระพิมพ์ดินเผา

การศึกษาคติความเชื่อของชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน กรณีศึกษาจากพระพิมพ์ดินเผา

การศึกษาคติความเชื่อของชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน กรณีศึกษาจากพระพิมพ์ดินเผา

ผู้เขียน ธนกฤต ลออสุวรรณ
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาคติความเชื่อของชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน กรณีศึกษาจากพระพิมพ์ดินเผา
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2546 (2003)
จำนวนหน้า 165
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

ขอบเขตการศึกษา

ขั้นตอนการศึกษา

วิธีการศึกษา

แหล่งข้อมูลในการศึกษา

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  • ประวัติการสร้างพระพิมพ์

มูลเหตุที่มีการสร้างพระพิมพ์

การทำพระพิมพ์

กลุ่มคนที่สร้างพระพิมพ์

รูปแบบของพระพิมพ์ในประเทศอินเดีย

  • ร่องรอยหลักฐานทางพระพุทธศาสนาในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

สภาพทางภูมิศาสตร์ในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

พัฒนาการของชุมชนโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

ร่องรอยหลักฐานทางพระพุทธศาสนาในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

หลักฐานทางด้านเอกสาร

หลักฐานทางด้านโบราณสถาน

หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ

  • พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารสดีในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

กลุ่มที่ 1 พระพิมพ์แบบที่มีพระพุทธเจ้าองค์เดียว

กลุ่มที่ 2 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้ากับรูปสถูป

กลุ่มที่ 3 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้ากับรูปบุคคลอื่นๆ

กลุ่มที่ 4 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้าหลายองค์

กลุ่มที่ 5 พระพิมพ์ที่เป็นรูปอื่นๆ

แหล่งที่ค้นพบพระพิมพ์ดินเผาในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

  • การวิเคราะห์เปรียบเทียบและแปลความคติของการสร้างพระพิมพ์

การวิเคราะห์แปลความคติของการสร้าง

กลุ่มที่ 1 พระพิมพ์แบบที่มีพระพุทธเจ้าองค์เดียว

กลุ่มที่ 2 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้ากับรูปสถูป

กลุ่มที่ 3 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้ากับรูปบุคคลอื่นๆ

กลุ่มที่ 4 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้าหลายองค์

กลุ่มที่ 5 พระพิมพ์ที่เป็นรูปอื่นๆ

  • บทสรุป

คติของการสร้างที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนานิกายต่างๆ

การกำหนดอายุสมัยของพระพิมพ์

พุทธศาสนาในลุ่มแม่น้ำกลองและท่าจีน และความสัมพันธ์กับแหล่งอื่นๆ

  • บรรณานนุกรม
  • ประวัติผู้วิจัย

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

พระพิมพ์ ทวารวดี พระพิมพ์ดินเผา

จำนวนผู้เข้าชม

70

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

13 ก.ค. 2567

การศึกษาคติความเชื่อของชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน กรณีศึกษาจากพระพิมพ์ดินเผา

  • การศึกษาคติความเชื่อของชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน กรณีศึกษาจากพระพิมพ์ดินเผา
  • ผู้เขียน
    ธนกฤต ลออสุวรรณ

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การศึกษาคติความเชื่อของชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน กรณีศึกษาจากพระพิมพ์ดินเผา

    มหาวิทยาลัย
    มหาวิทยาลัยศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2546 (2003)

    จำนวนหน้า
    165

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทนำ

    ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

    ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

    ขอบเขตการศึกษา

    ขั้นตอนการศึกษา

    วิธีการศึกษา

    แหล่งข้อมูลในการศึกษา

    ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

    • ประวัติการสร้างพระพิมพ์

    มูลเหตุที่มีการสร้างพระพิมพ์

    การทำพระพิมพ์

    กลุ่มคนที่สร้างพระพิมพ์

    รูปแบบของพระพิมพ์ในประเทศอินเดีย

    • ร่องรอยหลักฐานทางพระพุทธศาสนาในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

    สภาพทางภูมิศาสตร์ในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

    พัฒนาการของชุมชนโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

    ร่องรอยหลักฐานทางพระพุทธศาสนาในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

    หลักฐานทางด้านเอกสาร

    หลักฐานทางด้านโบราณสถาน

    หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ

    • พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารสดีในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

    กลุ่มที่ 1 พระพิมพ์แบบที่มีพระพุทธเจ้าองค์เดียว

    กลุ่มที่ 2 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้ากับรูปสถูป

    กลุ่มที่ 3 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้ากับรูปบุคคลอื่นๆ

    กลุ่มที่ 4 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้าหลายองค์

    กลุ่มที่ 5 พระพิมพ์ที่เป็นรูปอื่นๆ

    แหล่งที่ค้นพบพระพิมพ์ดินเผาในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน

    • การวิเคราะห์เปรียบเทียบและแปลความคติของการสร้างพระพิมพ์

    การวิเคราะห์แปลความคติของการสร้าง

    กลุ่มที่ 1 พระพิมพ์แบบที่มีพระพุทธเจ้าองค์เดียว

    กลุ่มที่ 2 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้ากับรูปสถูป

    กลุ่มที่ 3 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้ากับรูปบุคคลอื่นๆ

    กลุ่มที่ 4 พระพิมพ์แบบที่มีรูปพระพุทธเจ้าหลายองค์

    กลุ่มที่ 5 พระพิมพ์ที่เป็นรูปอื่นๆ

    • บทสรุป

    คติของการสร้างที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนานิกายต่างๆ

    การกำหนดอายุสมัยของพระพิมพ์

    พุทธศาสนาในลุ่มแม่น้ำกลองและท่าจีน และความสัมพันธ์กับแหล่งอื่นๆ

    • บรรณานนุกรม
    • ประวัติผู้วิจัย

  • บทคัดย่อ
  • วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทำการศึกษาพระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดี ที่พบตามชุมชนโบราณในเขตลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน ทั้งที่ได้จากการขุดค้นและที่เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติและพิพิธภัณฑ์ของเอกชน ทั้งนี้เพื่อแปลความเกี่ยวกับคติความเชื่อทางศาสนาของชุมชนโบราณในบริเวณนี้ ในช่วงเวลาที่วัฒนธรรมทวารวดีเจริญรุ่งเรือง (พุทธศตวรรษที่ 12-16) จากการศึกษาพบว่า พระพิมพ์ดินเผาที่พบในบริเวณดังกล่าว สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1. พระพิมพ์รูปพระพุทธรูปองค์เดียว, กลุ่มที่ 2 พระพิมพ์รูปพระพุทธรูปประกอบกับรูปสถูป, กลุ่มที่ 3 พระพิมพ์รูปพระพุทธรูปประกอบกับรูปบุคคลอื่นหรือรูปพระพุทธรูปหลายองค์, กลุ่มที่ 4 พระพิมพ์รูปพระพุทธเจ้าหลายองค์ และกลุ่มที่ 5 พระพิมพ์รูปอื่น ๆ ที่ไม่ใช่พระพุทธเจ้า จากการเปรียบเทียบพบว่า พระพิมพ์เหล่านี้แบ่งออกได้เป็น 2 สมัย คือ ยุคแรก เป็นพระพิมพ์ที่ได้รับอิทธิพลศิลปะอินเดียแบบอมราวดี คุปตะ และหลังคุปตะ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12-14 ซึ่งมีความสัมพันธ์ทางด้านรูปแบบกับพระพิมพ์ในคาบสมุทรภาคใต้ และพระพิมพ์สมัยทวารวดีทางภาควันออกเฉียงเหนือ ส่วนยุคที่สอง เป็นพระพิมพ์ที่ได้รับอิทธิพลศิลปะอินเดียแบบปาละ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 15-16 ซึ่งมีความสัมพันธ์ทางด้านรูปแบบกับพระพิมพ์ในประเทศพม่า และพระพิมพ์สมัยหริภุญชัยทางภาคเหนือ จากการวิเคราะห์ตีความพบว่า พระพิมพ์เหล่านี้สร้างขึ้นโดยคติความเชื่อทางพุทธศาสนา ทั้งที่เป็นนิกายเถรวาทและนิกายมหายาน ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อการทำบุญและสืบต่ออายุพุทธศาสนา พระพิมพ์บางแบบก็เป็นสิ่งที่คิดประดิษฐ์ขึ้นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของดินแดนแถบนี้ โดยอาศัยเรื่องราวคัมภีร์ของพระพุทธศาสนาทั้ง 2 นิกายดังกล่าว และยังมีพระพิมพ์บางแบบที่บ่งชี้ว่า มีการหยิบยืมรูปแบบคติความเชื่อของนิกายมหายาน ไปใช้ในนิกายเถรวาทด้วย พระพิมพ์เหล่านี้จึงเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในเขตลุ่มแม่น้ำแม่กลองและท่าจีน มีการนับถือพุทธศาสนาทั้ง 2 นิกาย และในบางครั้งก็มีการผสมผสานคติความเชื่อของทั้ง 2 นิกายเข้าด้วยกัน อีกทั้งยังแสดงถึงความสัมพันธ์กับพุทธศาสนาในดินแดนใกล้เคียง ทั้งในภูมิภาคอื่นของประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน ที่อยู่ในช่วงเวลาร่วมสมัยกันด้วย แต่อย่างไรก็ตาม พุทธศาสนานิกายเถรวาทก็คงเป็นนิกายหลัก ที่นิยมนับถือกันในชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในบริเวณแถบนี้ มากกว่านิกายมหายาน แม้ว่าจะปรากฏหลักฐานการเจริญขึ้นของทั้ง 2 นิกายนี้พร้อมกันก็ตาม


    ห้องสมุดแนะนำ

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    ศาสนา, ศิลปะ,

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ
    พระพิมพ์ ทวารวดี พระพิมพ์ดินเผา


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 13 ก.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 70