หน้าแรก วิทยานิพนธ์ ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

ผู้เขียน เมธี สุขสำเร็จ
ชื่อวิทยานิพนธ์ ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2544 (2001)
จำนวนหน้า 356
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญตาราง

สารบัญแผนที่

สารบัญลายเส้น

สารบัญภาพประกอบ

 

บทที่ 1 บทนํา

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

ขอบเขตการศึกษา

ขั้นตอนการศึกษา

คำจำกัดความที่ใช้ในการศึกษา

ระเบียบวิธีการศึกษา แหล่งข้อมูล

 

บทที่ 2 ลักษณะสภาพภูมิประเทศและแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในเขตจังหวัดลพบุรี

ลักษณะสภาพภูมิประเทศของจังหวัดลพบุรี

แหล่งน้ำที่สำคัญในจังหวัดลพบุรี

แหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของจังหวัดลพบุรี

ดิน

 

บทที่ 3 หลักฐานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับลพบุรี

จารึกที่กล่าวถึงเมืองลพบุรี

จารึกที่พบในเขตจังหวัดลพบุรี

จดหมายเหตุจีน

ตำนาน

ชินกาลมาลีปกรณ์

จามเทวีวงศ์

ตำนานมูลศาสนา

ประวัติการก่อตั้งเมืองลพบุรีในพงศาวดารเหนือ

 

บทที่ 4 หลักฐานทางโบราณคดีที่พบในเขตจังหวัดลพบุรี

หลักฐานที่ได้จากการดำเนินงานทางโบราณคดี

หลักฐานที่ได้จากชั้นวัฒนธรรมอันเนื่องจากการดำเนินงานทางโบราณคดี

แหล่งโบราณคดีศูนย์การทหารปืนใหญ่

แหล่งโบราณคดีเมืองซับจำปา

แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค

แหล่งโบราณคดีเนินมะกอก

แหล่งโบราณคดีหัวนา (มะกอกหวาน)

แหล่งโบราณคดีปึกปลาดุก

แหล่งโบราณคดีวัดโคกสำราญ

แหล่งโบราณคดีโคกบ้าน

แหล่งโบราณคดีหนองตารุ่ง

แหล่งโบราณคดีเกาะตาเขียว

แหล่งโบราณคดีบ้านปึกรี

แหล่งโบราณคดีบ้านชัยบาดาล

แหล่งโบราณคดีบ้านวังไผ่

หลักฐานที่ได้จากการขุดแต่งบูรณะอันเนื่องจากการดำเนินงานทางโบราณคดี

โบราณสถานบริเวณที่ทำการไปรษณีย์

เทวสถานปรางค์แขก

วัดนครโกษา

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ

บ้านวิชาเยนทร์

หลักฐานที่ได้จากการสำรวจอันเนื่องจากการดำเนินงานทางโบราณคดี

แหล่งโบราณคดีเมืองดงมะรุม

แหล่งโบราณคดีบ้านใหม่ไพศาลี

แหล่งโบราณคดีวัดเขาสมอคอน

แหล่งโบราณคดีถ้ำพราหมณี

แหล่งโบราณคดีบ้านขอม

แหล่งโบราณคดีหนองเมือง

แหล่งโบราณคดีบ้านหลุมข้าว

แหล่งโบราณคดีบ้านพรหมทิน

แหล่งโบราณคดีเมืองวัดสิงห์คูยาง (เมืองโคกสำโรง)

หลักฐานทางโบราณคดีที่พบโดยบังเอิญ

 

บทที่ 5 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลหลักฐานประเภทต่าง ของแหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดลพบุรี

ศึกษาวิเคราะห์หลักฐานเอกสาร

ศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบโบราณวัตถุทางวัฒนธรรม

สมัยหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์

สมัยวัฒนธรรมสมัยทวารดี

สมัยวัฒนธรรมร่วมแบบเขมร

ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อน พุทธศตวรรษที่ 18

สมัยหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์

สมัยทวารวดี

สมัยวัฒนธรรมร่วมแบบเขมรก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

บทบาทของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรี

สมัยหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์

สมัยวัฒนธรรมทวารวดี

สมัยวัฒนธรรมร่วมแบบเขมรก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

 

บทที่ 6 บทสรุป

ข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม

ประวัติผู้วิจัย

ห้องสมุดแนะนำ

ห้องสมุดแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ทวารวดี ชุมชนโบราณ ลพบุรี

ยุคสมัย

ทวารวดี พุทธศตวรรษที่18 ก่อนทวารวดี

จำนวนผู้เข้าชม

171

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

16 มิ.ย. 2567

ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

  • ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18
  • ผู้เขียน
    เมธี สุขสำเร็จ

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2544 (2001)

    จำนวนหน้า
    356

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

    กิตติกรรมประกาศ

    สารบัญตาราง

    สารบัญแผนที่

    สารบัญลายเส้น

    สารบัญภาพประกอบ

     

    บทที่ 1 บทนํา

    ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

    ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

    ขอบเขตการศึกษา

    ขั้นตอนการศึกษา

    คำจำกัดความที่ใช้ในการศึกษา

    ระเบียบวิธีการศึกษา แหล่งข้อมูล

     

    บทที่ 2 ลักษณะสภาพภูมิประเทศและแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในเขตจังหวัดลพบุรี

    ลักษณะสภาพภูมิประเทศของจังหวัดลพบุรี

    แหล่งน้ำที่สำคัญในจังหวัดลพบุรี

    แหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของจังหวัดลพบุรี

    ดิน

     

    บทที่ 3 หลักฐานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับลพบุรี

    จารึกที่กล่าวถึงเมืองลพบุรี

    จารึกที่พบในเขตจังหวัดลพบุรี

    จดหมายเหตุจีน

    ตำนาน

    ชินกาลมาลีปกรณ์

    จามเทวีวงศ์

    ตำนานมูลศาสนา

    ประวัติการก่อตั้งเมืองลพบุรีในพงศาวดารเหนือ

     

    บทที่ 4 หลักฐานทางโบราณคดีที่พบในเขตจังหวัดลพบุรี

    หลักฐานที่ได้จากการดำเนินงานทางโบราณคดี

    หลักฐานที่ได้จากชั้นวัฒนธรรมอันเนื่องจากการดำเนินงานทางโบราณคดี

    แหล่งโบราณคดีศูนย์การทหารปืนใหญ่

    แหล่งโบราณคดีเมืองซับจำปา

    แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค

    แหล่งโบราณคดีเนินมะกอก

    แหล่งโบราณคดีหัวนา (มะกอกหวาน)

    แหล่งโบราณคดีปึกปลาดุก

    แหล่งโบราณคดีวัดโคกสำราญ

    แหล่งโบราณคดีโคกบ้าน

    แหล่งโบราณคดีหนองตารุ่ง

    แหล่งโบราณคดีเกาะตาเขียว

    แหล่งโบราณคดีบ้านปึกรี

    แหล่งโบราณคดีบ้านชัยบาดาล

    แหล่งโบราณคดีบ้านวังไผ่

    หลักฐานที่ได้จากการขุดแต่งบูรณะอันเนื่องจากการดำเนินงานทางโบราณคดี

    โบราณสถานบริเวณที่ทำการไปรษณีย์

    เทวสถานปรางค์แขก

    วัดนครโกษา

    วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ

    บ้านวิชาเยนทร์

    หลักฐานที่ได้จากการสำรวจอันเนื่องจากการดำเนินงานทางโบราณคดี

    แหล่งโบราณคดีเมืองดงมะรุม

    แหล่งโบราณคดีบ้านใหม่ไพศาลี

    แหล่งโบราณคดีวัดเขาสมอคอน

    แหล่งโบราณคดีถ้ำพราหมณี

    แหล่งโบราณคดีบ้านขอม

    แหล่งโบราณคดีหนองเมือง

    แหล่งโบราณคดีบ้านหลุมข้าว

    แหล่งโบราณคดีบ้านพรหมทิน

    แหล่งโบราณคดีเมืองวัดสิงห์คูยาง (เมืองโคกสำโรง)

    หลักฐานทางโบราณคดีที่พบโดยบังเอิญ

     

    บทที่ 5 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลหลักฐานประเภทต่าง ของแหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดลพบุรี

    ศึกษาวิเคราะห์หลักฐานเอกสาร

    ศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบโบราณวัตถุทางวัฒนธรรม

    สมัยหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์

    สมัยวัฒนธรรมสมัยทวารดี

    สมัยวัฒนธรรมร่วมแบบเขมร

    ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อน พุทธศตวรรษที่ 18

    สมัยหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์

    สมัยทวารวดี

    สมัยวัฒนธรรมร่วมแบบเขมรก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

    บทบาทของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรี

    สมัยหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์

    สมัยวัฒนธรรมทวารวดี

    สมัยวัฒนธรรมร่วมแบบเขมรก่อนพุทธศตวรรษที่ 18

     

    บทที่ 6 บทสรุป

    ข้อเสนอแนะ

    บรรณานุกรม

    ประวัติผู้วิจัย


  • บทคัดย่อ
  • การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนโบราณในภูมิภาคอื่นและต่างชาติ โดยทำการศึกษาแหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดลพบุรีด้วยกันทั้งสิ้น 27 แหล่ง เพื่อทราบถึงความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนโบราณร่วมสมัย โดยทำการศึกษาเปรียบเทียบ วิเคราะห์ ตีความ ข้อมูลหลักฐานทุกประเภท ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวัตถุประเภทต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจ การขุดแต่ง และขุดค้นทางโบราณคดีตามแหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดลพบุรี ตลอดจนศึกษาแหล่งโบราณคดีร่วมสมัยในบริเวณภูมิภาคต่าง ๆ ที่ได้มีการศึกษาไว้แล้ว ผลการวิจัย สามารถแบ่งความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีออกเป็น 3 สมัยคือ 1) สมัยหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์ (พุทธศตวรรษที่ 5-10) พบว่าชุมชนโบราณในเขตลพบุรีช่วงนี้มีการติดต่อสัมพันธ์กับประเทศอินเดีย เวียดนาม และชุมชนโบราณภายในภูมิภาค 2) สมัยวัฒนธรรมทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 11-16) พบว่าชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีในช่วงระยะเวลาดังกล่าวมีการติดต่อสัมพันธ์กับชุมชนในวัฒนธรรมทวารวดีตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย โดยมีลักษณะร่วมกันทางวัฒนธรรม นอกจากนั้นพบว่ามีการติดต่อสัมพันธ์กับประเทศอินเดีย จีนและเขมร 3) สมัยวัฒนธรรมร่วมแบบเขมร (ก่อนพุทธศตวรรษที่ 18) พบว่าความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีในช่วงเวลานี้ มีแนวโน้มว่าอาจเป็นส่วนหนึ่งหรืออยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรเขมร นอกจากนั้นแล้ว ยังพบว่ามีการติดต่อสัมพันธ์กับประเทศจีนและชุมชนวัฒนธรรมร่วมแบบเขมรในประเทศไทยด้วยเช่นกัน


    ห้องสมุดแนะนำ
    ห้องสมุดแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การตั้งถิ่นฐาน, เศรษฐกิจการค้า,

    ยุคสมัย
    ทวารวดี พุทธศตวรรษที่18 ก่อนทวารวดี

    คำสำคัญ
    ทวารวดี ชุมชนโบราณ ลพบุรี


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 16 มิ.ย. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 171