หน้าแรก วิทยานิพนธ์ การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

ผู้เขียน อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ
ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2547 (2004)
จำนวนหน้า 305
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญภาพ

สารบัญภาพประกอบ

บทที่ 1 บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง

ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

ขอบเขตของการศึกษา

แหล่งข้อมูล

วิธีการศึกษา

คำจำกัดความที่ใช้ในการศึกษา

บทที่ 2 ประวัติความเป็นมาของตราประทับ

พัฒนาการของตราประทับ

ตราประทับในบริเวณแหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก

บริเวณตะวันออกไกลสมัยโบราณ (Ancient Near Eastern)

ตราประทับยุคแรกเริ่ม (Archaic) อายุราว 3500-2000 ปีก่อนคริสตกาล

ตราประทับในช่วงราว 2000 ปีก่อนคริสตกาล จนถึง คริสต์ศตวรรษที่ 5

ตราประทับทรงกระบอก (Cylinder seals)

อินเดียสมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ (The Indus Civilization)

ยุคฮารัปปันตอนต้น (Early Harappan period) ประมาณ 3600-2550 ปีก่อนคริสตกาล

ยุครุ่งเรือง (Mature Harappan period) ประมาณ 2550-1900 ปีก่อนคริสตกาล

ยุคฮารัปปันตอนปลาย (Late Harappan period) ประมาณ 1900-1700 ปีก่อนคริสตกาล

ยุคสำริด (Post-Harappan Bronze period) ประมาณ 1700-1400 ปีก่อนคริสตกาล

อินเดียสมัยโบราณ (Ancient India)

สมัยก่อนราชวงศ์โมริยะ ราว 500-300 ปีก่อนคริสตกาล

สมัยโมริยะ-สุงคะ ราว 300-50 ปีก่อนตริศตกาล

สมัยกุษาณะ ราวต้นคริสตกาล-คริสต์ศตวรรษที่ 3

สมัยคุปตะ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 4-6

สมัยหลังคุปตะ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 7-8

ศรีลังกา (Sri Lanka)

แหล่งโบราณคดีออกเก้ว ประเทศเวียดนาม (O-Eo Vietnam 3 การศึกษาตราประทับที่พบในเมืองอู่ทองและเมืองโบราณอื่นในประเทศไทย

วิธีจำแนกเพื่อการกำหนดเรียกชื่อ

ข้อสังเกตในการศึกษา

บทที่ 3 การศึกษาตราประทับที่พบในประเทศไทย

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุพรรณบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี พิพิธภัณฑ์จันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร แหล่งโบราณคดีเมืองดงละคร อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก

สรุปลักษณะรูปแบบของตราประทับและตราดินเผาที่พบในบริเวณเมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

บทที่ 4 การจำแนกหมวดหมู่และการศึกษาความหมาย

การจำแนกตามลวดลายที่อยู่บนพื้นผิว แบ่งออกเป็น 4 ประเภท

ตราประทับ (seals) กลุ่มที่มีตัวอักษร
ตราประทับ (seals) กลุ่มที่ไม่มีตัวอักษร
ตราดินเผา (baked clay sealings) กลุ่มที่มีตัวอักษร
ตราดินเผา (baked clay sealings) กลุ่มที่ไม่มีตัวอักษร

การศึกษาความหมายของรูปภาพและรูปสัญลักษณ์
สัญลักษณ์ในความหมายตามแนวคิดของอินเดีย
อัษฎมงคล (ashtamangala) ชุดสัญลักษณ์หลักของอินเดีย
อัษฎมงคลในพิธีราชาภิเษก
มงคล 108 ประการ (อัฏธุตตรสตะมงคล)

สัญลักษณ์ที่ปรากฏบนวัตถุสำคัญในสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์
หวีงาช้าง
แผ่นหินรูปคช-ลักษมี ที่เมืองนครปฐมโบราณ

ชิ้นส่วนแผ่นหินจำหลักลายมงคล ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
สัญลักษณ์และความหมายของตราและตราประทับ
ตราประทับและตราแบบใดเป็นวัตถุจากภายนอกหรือผลิตขึ้นในท้องถิ่น

ตราประทับ (seals) และตรา (sealings) ที่เป็นวัตถุจากภายนอก ตรา (sealings) ในรูปแบบที่ทำขึ้นในท้องถิ่น
เกณฑ์ในการพิจารณา
การจำแนกตามหน้าที่การใช้งาน (functional typology)

การศึกษาหน้าที่การใช้งานของตราประทับที่พบในภูมิภาคอื่น เอเซียตะวันออกไกล
เอเชียใต้ (อินเดีย)
วิธีการใช้งาน (Method of application)
แบบทดสอบบางประการเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบการศึกษาเพื่อทราบถึงลักษณะการใช้งานของตราประทับและตราดินเผาในประเทศไทย
การพิจารณาโดยอาศัยรูปร่างลักษณะ
การพิจารณาโดยอาศัยรูปรอยต่าง ๆ ที่อยู่บนผิว

ข้อสังเกตในการศึกษา
สรุปหน้าที่การใช้งานของตราประทับและตราดินเผาในประเทศไทย 
สรุปและอภิปรายผลการศึกษาตราประทับในเมืองอู่ทอง

บทที่ 5 บทวิเคราะห์และสรุปผลการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ประวัติผู้วิจัย

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

อู่ทอง ตราประทับ ประติมาณวิทยา สุพรรณบุรี

ยุคสมัย

ทวารวดี อู่ทอง

จำนวนผู้เข้าชม

98

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

1 มิ.ย. 2567

การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

  • การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
  • ผู้เขียน
    อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    การศึกษาความหมายและรูปแบบของตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2547 (2004)

    จำนวนหน้า
    305

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

    กิตติกรรมประกาศ

    สารบัญภาพ

    สารบัญภาพประกอบ

    บทที่ 1 บทนำ

    ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง

    ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา

    ขอบเขตของการศึกษา

    แหล่งข้อมูล

    วิธีการศึกษา

    คำจำกัดความที่ใช้ในการศึกษา

    บทที่ 2 ประวัติความเป็นมาของตราประทับ

    พัฒนาการของตราประทับ

    ตราประทับในบริเวณแหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก

    บริเวณตะวันออกไกลสมัยโบราณ (Ancient Near Eastern)

    ตราประทับยุคแรกเริ่ม (Archaic) อายุราว 3500-2000 ปีก่อนคริสตกาล

    ตราประทับในช่วงราว 2000 ปีก่อนคริสตกาล จนถึง คริสต์ศตวรรษที่ 5

    ตราประทับทรงกระบอก (Cylinder seals)

    อินเดียสมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ (The Indus Civilization)

    ยุคฮารัปปันตอนต้น (Early Harappan period) ประมาณ 3600-2550 ปีก่อนคริสตกาล

    ยุครุ่งเรือง (Mature Harappan period) ประมาณ 2550-1900 ปีก่อนคริสตกาล

    ยุคฮารัปปันตอนปลาย (Late Harappan period) ประมาณ 1900-1700 ปีก่อนคริสตกาล

    ยุคสำริด (Post-Harappan Bronze period) ประมาณ 1700-1400 ปีก่อนคริสตกาล

    อินเดียสมัยโบราณ (Ancient India)

    สมัยก่อนราชวงศ์โมริยะ ราว 500-300 ปีก่อนคริสตกาล

    สมัยโมริยะ-สุงคะ ราว 300-50 ปีก่อนตริศตกาล

    สมัยกุษาณะ ราวต้นคริสตกาล-คริสต์ศตวรรษที่ 3

    สมัยคุปตะ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 4-6

    สมัยหลังคุปตะ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 7-8

    ศรีลังกา (Sri Lanka)

    แหล่งโบราณคดีออกเก้ว ประเทศเวียดนาม (O-Eo Vietnam 3 การศึกษาตราประทับที่พบในเมืองอู่ทองและเมืองโบราณอื่นในประเทศไทย

    วิธีจำแนกเพื่อการกำหนดเรียกชื่อ

    ข้อสังเกตในการศึกษา

    บทที่ 3 การศึกษาตราประทับที่พบในประเทศไทย

    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุพรรณบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี พิพิธภัณฑ์จันเสน ตำบลจันเสน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ พิพิธภัณฑสถานวัดคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร แหล่งโบราณคดีเมืองดงละคร อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก

    สรุปลักษณะรูปแบบของตราประทับและตราดินเผาที่พบในบริเวณเมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

    บทที่ 4 การจำแนกหมวดหมู่และการศึกษาความหมาย

    การจำแนกตามลวดลายที่อยู่บนพื้นผิว แบ่งออกเป็น 4 ประเภท

    ตราประทับ (seals) กลุ่มที่มีตัวอักษร
    ตราประทับ (seals) กลุ่มที่ไม่มีตัวอักษร
    ตราดินเผา (baked clay sealings) กลุ่มที่มีตัวอักษร
    ตราดินเผา (baked clay sealings) กลุ่มที่ไม่มีตัวอักษร

    การศึกษาความหมายของรูปภาพและรูปสัญลักษณ์
    สัญลักษณ์ในความหมายตามแนวคิดของอินเดีย
    อัษฎมงคล (ashtamangala) ชุดสัญลักษณ์หลักของอินเดีย
    อัษฎมงคลในพิธีราชาภิเษก
    มงคล 108 ประการ (อัฏธุตตรสตะมงคล)

    สัญลักษณ์ที่ปรากฏบนวัตถุสำคัญในสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์
    หวีงาช้าง
    แผ่นหินรูปคช-ลักษมี ที่เมืองนครปฐมโบราณ

    ชิ้นส่วนแผ่นหินจำหลักลายมงคล ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
    สัญลักษณ์และความหมายของตราและตราประทับ
    ตราประทับและตราแบบใดเป็นวัตถุจากภายนอกหรือผลิตขึ้นในท้องถิ่น

    ตราประทับ (seals) และตรา (sealings) ที่เป็นวัตถุจากภายนอก ตรา (sealings) ในรูปแบบที่ทำขึ้นในท้องถิ่น
    เกณฑ์ในการพิจารณา
    การจำแนกตามหน้าที่การใช้งาน (functional typology)

    การศึกษาหน้าที่การใช้งานของตราประทับที่พบในภูมิภาคอื่น เอเซียตะวันออกไกล
    เอเชียใต้ (อินเดีย)
    วิธีการใช้งาน (Method of application)
    แบบทดสอบบางประการเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบการศึกษาเพื่อทราบถึงลักษณะการใช้งานของตราประทับและตราดินเผาในประเทศไทย
    การพิจารณาโดยอาศัยรูปร่างลักษณะ
    การพิจารณาโดยอาศัยรูปรอยต่าง ๆ ที่อยู่บนผิว

    ข้อสังเกตในการศึกษา
    สรุปหน้าที่การใช้งานของตราประทับและตราดินเผาในประเทศไทย 
    สรุปและอภิปรายผลการศึกษาตราประทับในเมืองอู่ทอง

    บทที่ 5 บทวิเคราะห์และสรุปผลการศึกษาวิจัย
    ข้อเสนอแนะ
    บรรณานุกรม
    ประวัติผู้วิจัย


  • บทคัดย่อ
  • วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตราและตราประทับที่พบในบริเวณเมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อจัดหมวดหมู่ตราประทับ เพื่อศึกษาความหมายและลักษณะทางประติมานวิทยา เพื่อทราบหน้าที่ ประโยชน์ใช้สอย และเพื่อศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของตราประทับที่พบในเมืองอู่ทองกับเมืองโบราณอื่น ๆ ผลจาการศึกษาวิจัยสามารถแบ่งประเภทของตราประทับเป็น 2 ประเภทคือ ตราประทับ (seals) และ ตราดินเผา (backed clay sealings) และทราบว่าตราประทับเป็นวัตถุที่ไม่ได้เกิดขึ้นในท้องถิ่น แต่เป็นการนำเข้ามาพร้อม ๆ กับการเผยแพร่ของอารยธรรมอินเดียโดยพ่อค้า นักแสวงโชคและนักบวชในศาสนาที่ใช้ตราประทับเป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและใช้ติดต่อสื่อสารกับชาวพื้นเมือง ตราประทับอู่ทองมีรูปแบบลวดลายที่มีอิทธิพลของอินเดียสมัยกุษาณะ (ราวพุทธศตวรรษที่ 6-9) และอินเดียสมัยคุปตะ (ราวพุทธศตวรรษที่ 9-11) ในช่วงต่อมาจึงมีรูปแบบที่ผลิตขึ้นในท้องถิ่น ลวดลายของตราประทับส่วนใหญ่เป็นสัตว์มงคลและสัญลักษณ์มงคลของอินเดีย นอกจากนั้นเป็นลวดลายเกี่ยวกับสัญลักษณ์ของเทพและรูปเทพเจ้าในศาสนาพุทธและพราหมณ์ ภาพเล่าเรื่องชีวิตของผู้คนเป็นตัวอักษรพราหมีสมัยคุปตะ (ราวพุทธศตวรรษที่ 10-11) และตัวอักษรปัลลวะ (ราวพุทธศตวรรษที่ 11-13) วัสดุที่ใช้ทำส่วนใหญ่เป็นดินเหนียว มีบ้างที่เป็นงาช้างและหิน แต่ลวดลายแตกต่างกันมากซึ่งอาจแสดงลักษณะการใช้งานที่ต้องการมีรูปแบบเฉพาะตน ลวดลายที่เหมือนกันอาจแสดงถึงความเป็นกลุ่มเดียวกัน การใช้งานตราประทับใช้ติดต่อสื่อสารในลักษณะเป็นตราประจำตัว บางส่วนเป็นเครื่องราว ความรู้จากการศึกษาตราประทับช่วยย้ำถึงความสำคัญของเมืองอู่ทองในฐานะเมืองท่าศูนย์กลางการค้าเมืองหนึ่งที่มีพัฒนาการสืบเนื่องและมีส่วนสำคัญในการรับและเลือกสรรวัฒนธรรมอินเดียมาผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่นพร้อมกับเมืองโบราณอื่น ๆ กลายเป็นลักษณะเฉพาะที่เรียกว่าวัฒนธรรมทวารวดีที่เจริญรุ่งเรืองสูงสุดในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 12-16 ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน


    ห้องสมุดแนะนำ

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การเมือง, เครื่องประดับ,

    ยุคสมัย
    ทวารวดี อู่ทอง

    คำสำคัญ
    อู่ทอง ตราประทับ ประติมาณวิทยา สุพรรณบุรี


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 1 มิ.ย. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 98