หน้าแรก วิทยานิพนธ์ เทวรูปจากเมืองศรีเทพ

เทวรูปจากเมืองศรีเทพ

เทวรูปจากเมืองศรีเทพ

ผู้เขียน จิตรปรีดี อุณหะสุวรรณ์
ชื่อวิทยานิพนธ์ เทวรูปจากเมืองศรีเทพ
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา สาขาวิชาโบราณคดี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
ปี 2524 (1981)
จำนวนหน้า 55
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทนำ

บทที่ 1 

- เมืองศรีเทพ

- สภาพภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง

- ความสำคัญของเมืองศรีเทพ

บทที่ 2

- เทวรูปจากเมืองศรีเทพ

- การจัดกลุ่มเทวรูปตามลัทธิความเชื่อ

- ลัทธิความเชื่อที่มีอิทธิพลต่อรูปเคารพในเมืองศรีเทพ

บทที่ 3

- บทวิเคราะห์รูปแบบและกำหนดอายุเทวรูป

บทสรุป

บรรณานุกรม

แผนที่

แผนผัง

ภาพประกอบ

ห้องสมุดแนะนำ

ห้องสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ศรีเทพ ศิลปะ

ยุคสมัย

ทวารวดี

จำนวนผู้เข้าชม

81

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

2 พ.ค. 2567

เทวรูปจากเมืองศรีเทพ

  • เทวรูปจากเมืองศรีเทพ
  • ผู้เขียน
    จิตรปรีดี อุณหะสุวรรณ์

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    เทวรูปจากเมืองศรีเทพ

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    สาขาวิชาโบราณคดี

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาตรี

    ปี
    2524 (1981)

    จำนวนหน้า
    55

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทนำ

    บทที่ 1 

    - เมืองศรีเทพ

    - สภาพภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง

    - ความสำคัญของเมืองศรีเทพ

    บทที่ 2

    - เทวรูปจากเมืองศรีเทพ

    - การจัดกลุ่มเทวรูปตามลัทธิความเชื่อ

    - ลัทธิความเชื่อที่มีอิทธิพลต่อรูปเคารพในเมืองศรีเทพ

    บทที่ 3

    - บทวิเคราะห์รูปแบบและกำหนดอายุเทวรูป

    บทสรุป

    บรรณานุกรม

    แผนที่

    แผนผัง

    ภาพประกอบ


  • บทคัดย่อ
  • ในตอนกลางของประเทศไทย ได้ปรากฎพบประติมากรรมในศาสนาพราหมณ์กลุ่มหนึ่งสร้างด้วยศิลาทราย ประติมากรรมเหล่านี้มีลักษณะรูปแบบเฉพาะของตนเองคือ เป็นประติมากรรมประทับยืนเอียงกายอย่างอ่อนช้อย นุ่งผ้าสั้นเหนือเข่าและสวมหมวกทรงกระบอกหลายเหลี่ยม มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ชื่อเรียกประติมากรรมเหล่านี้แตกต่างกันไป เช่น เทวรูปโบราณ เทวรูปรุ่นเก่า เทวรูปพระนารายณ์สวมหมวกแขก เทวรูปเหล่านี้ได้ถูกนำเข้ามาเก็บรักษาและจัดแสดงไว้ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนคร มีทั้งหมด 6 องค์ด้วยกัน 

    ผู้เขียนเกิดความสนใจจึงได้ทำการศึกษาเรื่องนี้ แต่เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องเวลาและผลวิเคราะห์จากข้อมูลการขุดค้นชั้นดินทางโบราณคดี เนื้อเรื่องส่วนใหญ่จึงเน้นหนักไปในการเปรียบเทียบรูปแบบศิลป

    อนึ่งสารนิพนธ์ฉบับนี้ได้แบ่งออกเป็น 3 บท ในบทแรกจะกล่าวถึงสภาพภูมิศาสตร์-ที่ตั้งและความสำคัญของเมืองโบราณอันเป็นแหล่งที่พบเทวรูป บทที่ 2 จะเป็นการแนะนำเทวรูปที่จะทำการศึกษา แบ่งกลุ่มเทวรูปตามลัทธิความเชื่อและศึกษาลัทธิความเชื่อที่มีอิทธิพลต่อรูปเคารพในเมืองศรีเทพ บทที่ 3 จะเป็นบทวิเคราะห์รูปแบบ สำหรับบทสรุปนั้นจะเป็นการจัดกลุ่มจัดกลุ่มเทวรูปตามอายุที่ได้กำหนดไว้ในบทที่ 3 การจัดกลุ่มเทวรูปไว้เช่นนั้นเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ที่สนใจได้นำสารนิพนธ์ฉบับนี้ไปใช้ศึกษาค้นคว้าในโอกาสต่อไป เพื่อยุติปัญหาข้อขัดแย้งต่างๆ และเสนอข้อคิดเห็นใหม่ๆในภายหน้า


    ห้องสมุดแนะนำ
    ห้องสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    ศาสนา, ศิลปะ,

    ยุคสมัย
    ทวารวดี

    คำสำคัญ
    ศรีเทพ ศิลปะ


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 2 พ.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 81