ผู้เขียน | พิชญ์ อุทัยภพ |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | งานศิลปกรรมในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงก่อนการสถาปนากรุงศรี อยุธยาเป็นราชธานี |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | ประวัติศาสตร์ศิลปะ |
สาขาวิชา | ประวัติศาสตร์ศิลปะ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2562 (2019) |
จำนวนหน้า | 147 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญภาพ
สารบัญภาพลายเส้น
บทที่ 1 บทนำ
1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (Statements and problematic of problems)
2. ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา (Goal and objective)
3. สมมติฐานของการศึกษา (Hypothesis to be tested).
4. ขอบเขตของการศึกษา (Scope and delimitation of the study)
5. ขั้นตอนการศึกษา (Process of the study)
6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 การเสื่อมสลายของทวารวดีในภาคกลางและการแผ่อิทธิพลของอาณาจักรเขมรโบราณ
1. การเสื่อมสลายของทวารวดีในภาคกลางและการแผ่อิทธิพลของอาณาจักรเขมรโบราณ
2. บทบาทของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่ปรากฏในลุ่มน้ำเจ้าพระยา
3. สรุป
บทที่ 3 การเสื่อมสลายอิทธิพลของอาณาจักรเขมรโบราณและชุมชนโบราณในลุ่มน้ำเจ้าพระยาช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 18-191. การเสื่อมสลายอิทธิพลของอาณาจักรเขมรโบราณ
2. เมืองโบราณในลุ่มน้ำเจ้าพระยาหลังการถดถอย อิทธิพลทางการเมืองของอาณาจักรเขมร โบราณ
3. สรุป
บทที่ 4 ประติมากรรมที่พบในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 18 จนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19
1. สังเขปแนวทางการศึกษาเกี่ยวกับประติมากรรมที่ผ่านมาและประเด็นปัญหาที่พบ
2. การแบ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ที่ปรากฏ
3. สรุป
บทที่ 5 สถาปัตยกรรมที่พบในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 18 จนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19
1. สังเขปแนวทางการศึกษาเกี่ยวกับประติมากรรมที่ผ่านมาและประเด็นปัญหาที่พบ ทางการศึกษาเกี่ยวกับ
2. การแบ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ที่ปรากฏ
3. สรุป
บทที่ 6 บทวิเคราะห์และสรุปผล
รายการอ้างอิง
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญภาพ
สารบัญภาพลายเส้น
บทที่ 1 บทนำ
1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (Statements and problematic of problems)
2. ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา (Goal and objective)
3. สมมติฐานของการศึกษา (Hypothesis to be tested).
4. ขอบเขตของการศึกษา (Scope and delimitation of the study)
5. ขั้นตอนการศึกษา (Process of the study)
6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 การเสื่อมสลายของทวารวดีในภาคกลางและการแผ่อิทธิพลของอาณาจักรเขมรโบราณ
1. การเสื่อมสลายของทวารวดีในภาคกลางและการแผ่อิทธิพลของอาณาจักรเขมรโบราณ
2. บทบาทของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่ปรากฏในลุ่มน้ำเจ้าพระยา
3. สรุป
บทที่ 3 การเสื่อมสลายอิทธิพลของอาณาจักรเขมรโบราณและชุมชนโบราณในลุ่มน้ำเจ้าพระยาช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 18-191. การเสื่อมสลายอิทธิพลของอาณาจักรเขมรโบราณ
2. เมืองโบราณในลุ่มน้ำเจ้าพระยาหลังการถดถอย อิทธิพลทางการเมืองของอาณาจักรเขมร โบราณ
3. สรุป
บทที่ 4 ประติมากรรมที่พบในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 18 จนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19
1. สังเขปแนวทางการศึกษาเกี่ยวกับประติมากรรมที่ผ่านมาและประเด็นปัญหาที่พบ
2. การแบ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ที่ปรากฏ
3. สรุป
บทที่ 5 สถาปัตยกรรมที่พบในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 18 จนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19
1. สังเขปแนวทางการศึกษาเกี่ยวกับประติมากรรมที่ผ่านมาและประเด็นปัญหาที่พบ ทางการศึกษาเกี่ยวกับ
2. การแบ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ที่ปรากฏ
3. สรุป
บทที่ 6 บทวิเคราะห์และสรุปผล
รายการอ้างอิง
ภาคผนวก
ประวัติผู้เขียน
ผลจากการวิจัยพบว่า
1. พระพุทธรูปที่ปรากฏการผสมผสานระหว่างศิลปะเขมรและศิลปะหริภุญชัยนั้น ปรากฏขึ้นร่วมสมัยกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ยังทรงอำนาจอยู่ในลุ่มน้ำเจ้าพระยาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18 แล้ว โดยพระพุทธรูปในกลุ่มนี้จะยังคงมีอิทธิพลของศิลปะเขมรอย่างแรงกล้า และเริ่มรับรูปแบบของศิลปะหริภุญชัยเข้ามาผสมผสาน
2. ตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างลุ่มน้ำเจ้าพระยากับลุ่มน้ำโตนเลสาป แต่เป็นความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายของพุทธศาสนาเถรวาทที่เกิดขึ้นใหม่ เมื่อเปรียบเทียบกับพระพุทธรูปในลุ่มน้ำเจ้าพระยาพบว่า พระพุทธรูปศิลปะเขมรสมัยพระนครตอนปลาย มีความใกล้เคียงกับพระพุทธรูปแบบอู่ทองหมวดที่ 1 ในกลุ่มที่นิยมสร้างพระอุษณีษะทรงสูง และมีพระรัศมีเป็นดอกบัวตูม มีอายุสมัยร่วมกันคือราวต้นพุทธศตวรรษที่ 19
3. งานสถาปัตยกรรมที่พบในลุ่มน้ำเจ้าพระยาสามารถแบ่งได้เป็น 1) กลุ่มที่ได้รับอิทธิพลศิลปะเขมร 2) อิทธิพลศิลปะเขมรผสมอิทธิพลศิลปะหริภุญชัย งานศิลปกรรมในช่วงเวลานี้ยังคงอิทธิพลของศิลปะเขมรอย่างแข็งแกร่ง แต่ก็ปรากฏแรงบันดาลใจใหม่จากหริภุญชัยเข้ามาผสมผสาน คือการนำเจดีย์มาประดับเหนือเรือนธาตุ กลายเป็นเจดีย์ทรงปราสาทแบบเขมรแต่มียอดแบบหริภุญชัย 3) ต่อมาเจดีย์ในกลุ่มสถูปจำลองสำริดก็ได้เป็นแรงบันดาลใจต่อกลุ่มสุดท้ายที่มี พัฒนาการจนเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง