หน้าแรก วิทยานิพนธ์ พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน

พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน

พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน

ผู้เขียน ปัทมาพร ทองเฝือ
ชื่อวิทยานิพนธ์ พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะ บัณฑิตวิทยาลัย
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2555 (2012)
จำนวนหน้า 274
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญภาพ
สารบัญแผนที่

บทที่ 1 บทนำ 
   ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
   ความมุ่งหมานและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
   ประโยชน์ของการศึกษา
   ขอบเขตของการศึกษา
   ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
   แหล่งข้อมูล
   ระยะเวลาของการศึกษา

บทที่ 2 ชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน: สภาพภูมิศาสตร์และประวัติการศึกษาที่ผ่านมา
   สภาพภูมิศาสตร์ของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
      ภาคใต้และการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณ
      ที่ตั้งและอาณาเขตของอำเภอพุนพิน
      ลักษณะภูมิประเทศของอำเภอพุนพิน
   ประวัติการศึกษาค้นคว้าที่ผ่านมา
      ช่วงงานสำรวจระยะแรกเริ่ม (พ.ศ.2472-2508)
      ช่วงงานประวัติศาสตร์-ประวัติศาสตร์ศิลปะ-โบราณคดี
      ช่วงงานสำรวจ-ขุดค้น/ขุดแต่งของกรมศิลปากร
      สรุปผลการศึกษาค้นคว้าที่ผ่านมา

บทที่ 3 ชุมชนโบราณในอำเภอพุนพินจากหลักฐานเอกสารและหลักฐานทางโบราณคดี
   หลักฐานเอกสาร
      จารึก
      หนังสือบุด
      เอกสารต่างชาติ
   หลักฐานโบราณคดีที่ได้จากการสำรวจ
      สมัยก่อนประวัติศาสตร์
         แหล่งโบราณคดีวัดขี้เหล็ก (ร้าง)
      สมัยประวัติศาสตร์
          แหล่งโบราณคดีนรเดช
          แหล่งโบราณคดีสระพัง
          แหล่งโบราณคดีบ้านนายวิรัตน์ เรืองเจริญ
          แหล่งโบราณคดีบ้านนายเจนกิจ พยัคฆ์ฤทธิ์
          แหล่งโบราณคดีบ้านนายสำรวม กล่อมทอง
          แหล่งโบราณคดีบ้านนายจำรัส ทิพย์บรรพต
          แหล่งโบราณคดีโรงเรียนวัดเขาศรีวิชัย
          แหล่งโบราณคดีวัดพุนพิน (ใต้)
          แหล่งโบราณคดีวัดบางมะเดื่อ
          แหล่งโบราณคดีวัดเขาพระอานนท์
          แหล่งโบราณคดีวัดน้ำรอบ
          แหล่งโบราณคดีท้ายควน
          แหล่งโบราณคดีวัดเขาศรีวิชัย
          แหล่งโบราณคดีวัดท่าสะท้อน
          แหล่งโบราณคดีบ้านนางกิมซี้ มีบุญมาก
          แหล่งโบราณคดีบ้านนางจำปา ทิพย์บรรพต
          แหล่งโบราณคดีวัดดอนเกลี้ยง
   หลักฐานโบราณคดีที่ได้จากการขุดคเน/ขุดแต่ง
      สมัยประวัติศาสตร์
          แหล่งโบราณคดีควนพุนพิน
          แหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย
          แหล่งโบราณคดีคลองบางร่อนทอง
          แหล่งโบราณคดีบ้านท่าตะเภา

บทที่ 4 บทวิเคราะห์
   พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
      สมัยก่อนประวัติศาสตร์
      สมัยประวัติศาสตร์
         ช่วงพุทธศตวรรษที่ 11-12
         ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18
         ช่วงพุทธศตวรรษที่ 20-24
   บทบาทและความสำคัญของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
      บทบาทด้านการเป็นเมืองท่าค้าขาย
      บทบาทด้านการเป็นเมืองศูนย์กลางศาสนา
   ความสำคัญของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
      บทบาทด้านการเป็นเมืองท่าค้าขาย
      บทบาทด้านการเป็นเมืองศูนย์กลางศาสนา
   ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนโบราณในอำเภอพุนพินกับชุมชนร่วมสมัยแห่งอื่น ๆ ในประเทศและต่างประเทศ
      ความสัมพันธ์กับชุมชนร่วมสมัยในประเทศ
         ความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณในภาคใต้
         ความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณในภาคกลาง
         ความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณในภาคตะวันออก
      ความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณร่วมสมัยในต่างประเทศ
         ความสัมพันธ์กับเวียดนาม
         ความสัมพันธ์กับจีน
         ความสัมพันธ์กับอินเดีย
         ความสัมพันธ์กับโรมัน
         ความสัมพันธ์กับตะวันออกกลาง
         ความสัมพันธ์กับอินโดนีเซีย
         ความสัมพันธ์กับมาเลเซีย
         ความสัมพันธ์กับลังกา
         ความสัมพันธ์กับอังกฤษ

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ

รายการอ้างอิง
ประวัติผู้วิจัย

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร และฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (Thai Digital Collection)

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ทวารวดี พุทธศาสนา อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ความสัมพันธ์กับชุมชนร่วมสมัย เมืองท่า ศูนย์กลางพุทธศาสนา ศรีวิชัย อยุธยา รัตนโกสินทร์ รัฐพันพัน ตีรถะ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ก่อนประวัติศาสตร์ โบราณ

จำนวนผู้เข้าชม

377

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

25 มี.ค. 2567

พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน

  • พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
  • ผู้เขียน
    ปัทมาพร ทองเฝือ

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน

    มหาวิทยาลัย
    มหาวิทยาลัยศิลปากร

    คณะ
    บัณฑิตวิทยาลัย

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2555 (2012)

    จำนวนหน้า
    274

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย
    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
    กิตติกรรมประกาศ
    สารบัญภาพ
    สารบัญแผนที่

    บทที่ 1 บทนำ 
       ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
       ความมุ่งหมานและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
       ประโยชน์ของการศึกษา
       ขอบเขตของการศึกษา
       ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
       แหล่งข้อมูล
       ระยะเวลาของการศึกษา

    บทที่ 2 ชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน: สภาพภูมิศาสตร์และประวัติการศึกษาที่ผ่านมา
       สภาพภูมิศาสตร์ของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
          ภาคใต้และการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณ
          ที่ตั้งและอาณาเขตของอำเภอพุนพิน
          ลักษณะภูมิประเทศของอำเภอพุนพิน
       ประวัติการศึกษาค้นคว้าที่ผ่านมา
          ช่วงงานสำรวจระยะแรกเริ่ม (พ.ศ.2472-2508)
          ช่วงงานประวัติศาสตร์-ประวัติศาสตร์ศิลปะ-โบราณคดี
          ช่วงงานสำรวจ-ขุดค้น/ขุดแต่งของกรมศิลปากร
          สรุปผลการศึกษาค้นคว้าที่ผ่านมา

    บทที่ 3 ชุมชนโบราณในอำเภอพุนพินจากหลักฐานเอกสารและหลักฐานทางโบราณคดี
       หลักฐานเอกสาร
          จารึก
          หนังสือบุด
          เอกสารต่างชาติ
       หลักฐานโบราณคดีที่ได้จากการสำรวจ
          สมัยก่อนประวัติศาสตร์
             แหล่งโบราณคดีวัดขี้เหล็ก (ร้าง)
          สมัยประวัติศาสตร์
              แหล่งโบราณคดีนรเดช
              แหล่งโบราณคดีสระพัง
              แหล่งโบราณคดีบ้านนายวิรัตน์ เรืองเจริญ
              แหล่งโบราณคดีบ้านนายเจนกิจ พยัคฆ์ฤทธิ์
              แหล่งโบราณคดีบ้านนายสำรวม กล่อมทอง
              แหล่งโบราณคดีบ้านนายจำรัส ทิพย์บรรพต
              แหล่งโบราณคดีโรงเรียนวัดเขาศรีวิชัย
              แหล่งโบราณคดีวัดพุนพิน (ใต้)
              แหล่งโบราณคดีวัดบางมะเดื่อ
              แหล่งโบราณคดีวัดเขาพระอานนท์
              แหล่งโบราณคดีวัดน้ำรอบ
              แหล่งโบราณคดีท้ายควน
              แหล่งโบราณคดีวัดเขาศรีวิชัย
              แหล่งโบราณคดีวัดท่าสะท้อน
              แหล่งโบราณคดีบ้านนางกิมซี้ มีบุญมาก
              แหล่งโบราณคดีบ้านนางจำปา ทิพย์บรรพต
              แหล่งโบราณคดีวัดดอนเกลี้ยง
       หลักฐานโบราณคดีที่ได้จากการขุดคเน/ขุดแต่ง
          สมัยประวัติศาสตร์
              แหล่งโบราณคดีควนพุนพิน
              แหล่งโบราณคดีเขาศรีวิชัย
              แหล่งโบราณคดีคลองบางร่อนทอง
              แหล่งโบราณคดีบ้านท่าตะเภา

    บทที่ 4 บทวิเคราะห์
       พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
          สมัยก่อนประวัติศาสตร์
          สมัยประวัติศาสตร์
             ช่วงพุทธศตวรรษที่ 11-12
             ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18
             ช่วงพุทธศตวรรษที่ 20-24
       บทบาทและความสำคัญของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
          บทบาทด้านการเป็นเมืองท่าค้าขาย
          บทบาทด้านการเป็นเมืองศูนย์กลางศาสนา
       ความสำคัญของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน
          บทบาทด้านการเป็นเมืองท่าค้าขาย
          บทบาทด้านการเป็นเมืองศูนย์กลางศาสนา
       ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนโบราณในอำเภอพุนพินกับชุมชนร่วมสมัยแห่งอื่น ๆ ในประเทศและต่างประเทศ
          ความสัมพันธ์กับชุมชนร่วมสมัยในประเทศ
             ความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณในภาคใต้
             ความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณในภาคกลาง
             ความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณในภาคตะวันออก
          ความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณร่วมสมัยในต่างประเทศ
             ความสัมพันธ์กับเวียดนาม
             ความสัมพันธ์กับจีน
             ความสัมพันธ์กับอินเดีย
             ความสัมพันธ์กับโรมัน
             ความสัมพันธ์กับตะวันออกกลาง
             ความสัมพันธ์กับอินโดนีเซีย
             ความสัมพันธ์กับมาเลเซีย
             ความสัมพันธ์กับลังกา
             ความสัมพันธ์กับอังกฤษ

    บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ

    รายการอ้างอิง
    ประวัติผู้วิจัย


  • บทคัดย่อ
  • งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพินในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานโบราณคดี ผลการศึกษาสามารถจัดลำดับพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณแห่งนี้ได้ 4 ระยะคือ ระยะที่ 1 (ราว 2,500-1,500 ปีมาแล้ว) : หลักฐานจากวัดขี้เหล็ก (ร้าง) ชี้ให้เห็นถึงร่องรอยของชุมชนระยะแรกในเขตอำเภอพุนพิน และชุมชนนี้เริ่มมีการติดต่อกับอินเดียและเวียดนามแล้ว ระยะที่ 2 (ราวพุทธศตวรรษที่ 11-12) : อิทธิพลศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธจากอินเดียแพร่เข้ามา ชุมชนมีการติดต่อค้าขายกับอินเดีย มีความสัมพันธ์กับชุมชนใกล้เคียงที่ได้รับวัฒนธรรมจากอินเดีย ทั้งยังอาจเป็นส่วนหนึ่งของรัฐพันพันในเอกสารจีน ระยะที่ 3 (ราวพุทธศตวรรษที่ 13-18) : ชุมชนพัฒนาขึ้นเป็นศูนย์กลางศาสนาของภาคใต้ มีการสร้างโบราณวัตถุสถานเนื่องในศาสนาเป็นจำนวนมาก และพบร่องรอยการสร้างโบราณสถานขึ้นบนภูมิประเทศศักดิ์สิทธิ์ที่เรียกว่าตีรถะ (Tirtha) ตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ที่เขาศรีวิชัย ชุมชนมีการติดต่อกับชุมชนแห่งอื่น ๆ ในวัฒนธรรมศรีวิชัย ชุมชนในวัฒนธรรมทวารวดี อินเดีย จีน และตะวันออกกลาง ทั้งยังอาจพัฒนาขึ้นเป็นเมืองท่าริมฝั่งแม่น้ำในเส้นทางการค้าข้ามคาบสมุทร และระยะที่ 4 (ราวพุทธศตวรรษที่ 20-24) : ชุมชนอยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมืองของกรุงศรีอยุธยา ผู้คนนับถือพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์ซึ่งเป็นอิทธิพลศาสนาของลังกาที่รับผ่านมาจากเมืองนครศรีธรรมราช มีการสร้างวัดขึ้นหลายแห่ง รูปแบบงานศิลปกรรมทางศาสนามีความสัมพันธ์กับอยุธยาและชุมชนหลายแห่งในภาคใต้ มีการติดต่อสัมพันธ์ทางการค้ากับจีน อังกฤษ และชุมชนโบราณในภาคกลางของไทย หลังจากยุคนี้หลายชุมชนในอำเภอพุนพินมีการทิ้งร้างไป แต่บางชุมชนยังคงมีการอยู่อาศัยต่อเนื่องมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น กระทั่งถึงปัจจุบัน


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร และฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (Thai Digital Collection)

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การข้ามคาบสมุทร, การค้าทางไกล, การตั้งถิ่นฐาน, ประวัติศาสตร์สังคม, ศาสนา, เศรษฐกิจการค้า,

    ยุคสมัย
    สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ก่อนประวัติศาสตร์ โบราณ

    คำสำคัญ
    ทวารวดี พุทธศาสนา อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ความสัมพันธ์กับชุมชนร่วมสมัย เมืองท่า ศูนย์กลางพุทธศาสนา ศรีวิชัย อยุธยา รัตนโกสินทร์ รัฐพันพัน ตีรถะ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 25 มี.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 377