ผู้เขียน | สมเดช ลีลามโนธรรม |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณลุ่มน้ำลำสะแทด ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 : กรณีศึกษาแหล่งโบราณคดีบ้านกระเบื้อง อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา และการสำรวจพื้นที่โดยรอบ |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | โบราณคดี |
สาขาวิชา | โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2556 (2013) |
จำนวนหน้า | 314 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญแผนที่
สารบัญแผนภูมิ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ของการศึกษา
ขอบเขตการศึกษา
ขั้นตอนการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา
ข้อจำกัดในการศึกษา
คำจำกัดความที่ใช้ในการศึกษา
บทที่ 2 สภาพภูมิศาสตร์ของลุ่มน้ำลำสะแทด และการศึกษาทางโบราณคดี
บริเวณลุ่มน้ำลำสะแทดที่ผ่านมา
การศึกษาทางโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลำดับอายุสมัย
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยประวัติศาสตร์
สมัยทวารวดี
สมัยเขมร
รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยประวัติศาสตร์
การศึกษาชุมชนโบราณในลุ่มแม่น้ำลำสะแทดที่ผ่านมา
บทที่ 3 การสำรวจแหล่งโบราณคดี
กลุ่มที่ 1 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์
กลุ่มที่ 2 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยทวารวดี
กลุ่มที่ 3 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ สมัยเขมร
กลุ่มที่ 4 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยประวัติศาสตร์ร่วมสมัยทวารวดี
กลุ่มที่ 5 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยเขมร
กลุ่มที่ 6 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ร่วมสมัยทวารวดีและสมัยเขมร
กลุ่มที่ 7 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยประวัติศาสตร์ สมัยเขมร
บทที่ 4 แหล่งโบราณคดีบ้านกระเบื้อง
แหล่งโบราณคดีบ้านกระเบื้อง
โบราณสถาน
การขุดค้น
หลุมขุดค้นที่ 1
ผลการขุดค้น
หลักฐานทางโบราณคดี
สภาพแวดล้อมของแหล่งโบราณคดี
ลำดับชั้นทับถมทางวัฒนธรรม
การกำหนดอายุสมัยของแหล่งโบราณคดี
สรุปผลการขุดค้น
หลุมขุดค้นที่ 2
การขุดค้น
ผลการขุดค้น
หลักฐานทางโบราณคดี
รูปแบบการฝังศพ
รูปแบบการบรรจุกระดูกมนุษย์
การกำหนดอายุสมัยของการฝังศพที่โนนป่าช้าเก่า
บทที่ 5 การศึกษาวิเคราะห์
1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่หรือยุคเกษตรกรรมแรกเริ่ม
2.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคสำริด
3.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคเหล็ก
การตั้งถิ่นฐาน
ชุมชนที่มีคูน้ำคันดินล้อมรอบ
เศรษฐกิจของชุมชน
ประเพณีการฝังศพมนุษย์
2.สมัยประวัติศาสตร์ร่วมสมัยทวารวดี
การตั้งถิ่นฐาน
การนับถือพุทธศาสนา
ประเพณีการฝังศพ
3.สมัยประวัติศาสตร์ สมัยเขมร
การตั้งถิ่นฐาน
การนับถือศาสนา
ประเพณีการฝังศพ
ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและศาสนสถาน
การกำหนดเขตชุมชนหรือศาสนสถาน
การจัดการน้ำของชุมชน
การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างชุมชน การเกษตรกรรมและการผลิตเกลือสินเธาว์
บทที่ 6 สรุป
รายการอ้างอิง
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญแผนที่
สารบัญแผนภูมิ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ของการศึกษา
ขอบเขตการศึกษา
ขั้นตอนการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา
ข้อจำกัดในการศึกษา
คำจำกัดความที่ใช้ในการศึกษา
บทที่ 2 สภาพภูมิศาสตร์ของลุ่มน้ำลำสะแทด และการศึกษาทางโบราณคดี
บริเวณลุ่มน้ำลำสะแทดที่ผ่านมา
การศึกษาทางโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลำดับอายุสมัย
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยประวัติศาสตร์
สมัยทวารวดี
สมัยเขมร
รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยประวัติศาสตร์
การศึกษาชุมชนโบราณในลุ่มแม่น้ำลำสะแทดที่ผ่านมา
บทที่ 3 การสำรวจแหล่งโบราณคดี
กลุ่มที่ 1 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์
กลุ่มที่ 2 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยทวารวดี
กลุ่มที่ 3 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ สมัยเขมร
กลุ่มที่ 4 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยประวัติศาสตร์ร่วมสมัยทวารวดี
กลุ่มที่ 5 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยเขมร
กลุ่มที่ 6 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ร่วมสมัยทวารวดีและสมัยเขมร
กลุ่มที่ 7 แหล่งโบราณคดีที่มีอายุอยู่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยประวัติศาสตร์ สมัยเขมร
บทที่ 4 แหล่งโบราณคดีบ้านกระเบื้อง
แหล่งโบราณคดีบ้านกระเบื้อง
โบราณสถาน
การขุดค้น
หลุมขุดค้นที่ 1
ผลการขุดค้น
หลักฐานทางโบราณคดี
สภาพแวดล้อมของแหล่งโบราณคดี
ลำดับชั้นทับถมทางวัฒนธรรม
การกำหนดอายุสมัยของแหล่งโบราณคดี
สรุปผลการขุดค้น
หลุมขุดค้นที่ 2
การขุดค้น
ผลการขุดค้น
หลักฐานทางโบราณคดี
รูปแบบการฝังศพ
รูปแบบการบรรจุกระดูกมนุษย์
การกำหนดอายุสมัยของการฝังศพที่โนนป่าช้าเก่า
บทที่ 5 การศึกษาวิเคราะห์
1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่หรือยุคเกษตรกรรมแรกเริ่ม
2.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคสำริด
3.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคเหล็ก
การตั้งถิ่นฐาน
ชุมชนที่มีคูน้ำคันดินล้อมรอบ
เศรษฐกิจของชุมชน
ประเพณีการฝังศพมนุษย์
2.สมัยประวัติศาสตร์ร่วมสมัยทวารวดี
การตั้งถิ่นฐาน
การนับถือพุทธศาสนา
ประเพณีการฝังศพ
3.สมัยประวัติศาสตร์ สมัยเขมร
การตั้งถิ่นฐาน
การนับถือศาสนา
ประเพณีการฝังศพ
ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและศาสนสถาน
การกำหนดเขตชุมชนหรือศาสนสถาน
การจัดการน้ำของชุมชน
การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างชุมชน การเกษตรกรรมและการผลิตเกลือสินเธาว์
บทที่ 6 สรุป
รายการอ้างอิง
ประวัติผู้วิจัย
งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในลุ่มน้ำลำสะแทด ซึ่งเป็นลุ่มน้ำสาขาของลุ่มแม่น้ำมูลตอนบนในช่วงเวลาก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ผลการศึกษาสามารถจัดลำดับพัฒนาการออกได้ 5 ระยะ ดังนี้
1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่ (อายุราว 3,700 – 3,000 ปีมาแล้ว )
พบหลักฐานที่แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด อำเภอโนนสูง ซึ่งตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของลุ่มน้ำ เป็นชุมชนเกษตรกรรม มีประเพณีในการฝังศพครั้งเดียวแบบนอนหงายเหยียดยาวและบรรจุในภาชนะดินเผา
2. ยุคสำริด (อายุราว 3,000 – 2,500 ปีมาแล้ว)
พบหลักฐานที่แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด บ้านหลุมข้าว และบ้านปราสาท อำเภอโนนสูง ซึ่งตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของลุ่มน้ำเช่นเดียวกัน เป็นชุมชนเกษตรกรรม มีประเพณีการฝังศพครั้งเดียวแบบนอนหงายเหยียดยาว มีการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างชุมชน
3. ยุคเหล็ก (อายุราว 2,500 – 1,500 ปีมาแล้ว)
ช่วงเวลานี้ประชากรมีจำนวนมากขึ้น เกิดการขยายตัวไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของลุ่มน้ำ พื้นที่ศึกษาซึ่งอยู่บริเวณตอนกลางจึงปรากฏชุมชนในยุคเหล็กเป็นจำนวนมาก เป็นชุมชนเกษตรกรรมและมีการผลิตเกลือสินเธาว์ขึ้น มีการติดต่อสัมพันธ์กับชุมชนอื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกล มีประเพณีการฝังศพทั้งแบบฝังครั้งเดียวแบบนอนหงายเหยียดยาวและฝังครั้งที่สองในภาชนะดินเผา
4. สมัยประวัติศาสตร์ร่วมสมัยทวารวดี (อายุราว 1,500 – 1,100 ปีมาแล้ว หรือพุทธศตวรรษที่ 12 – 15)
ในช่วงเวลานี้ชุมชน ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมทวารวดีที่แพร่มาจากภาคกลางของประเทศไทย มีพัฒนาการเข้าสู่สังคมเมืองเกิดชุมชนขนาดใหญ่ที่เป็นศูนย์กลางอย่างชัดเจน มีการนับถือพุทธศาสนาแต่ก็ยังคงประเพณีการฝังศพครั้งที่สองในภาชนะดินเผาอยู่ แสดงถึงความนิยมในความเชื่อดั้งเดิมบางประการ
5. สมัยประวัติศาสตร์ สมัยเขมร (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 15 -18 )
ชุมชนคงอยู่ภายใต้อำนาจของกษัตริย์ในอาณาจักรเขมรโดยเฉพาะเมืองพิมาย มีการนับถือศาสนาฮินดูหรือพุทธศาสนา ประเพณีการปลงศพเปลี่ยนมาเป็นการเผาและบรรจุอัฐิในภาชนะดินเผา ยังคงมีการผลิตเกลือสินเธาว์อยู่ การจัดการน้ำของชุมชนมีทั้งใช้คูน้ำคันดินที่ล้อมรอบชุมชนเป็นที่เก็บน้ำ และสร้างบารายขึ้นมาเพื่อเก็บน้ำและเป็นสิ่งก่อสร้างคู่กับศาสนสถานตามคติความเชื่อทางศาสนา