ผู้เขียน | ปริวรรษ เจียมจิตต |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | การตั้งถิ่นฐานสมัยโบราณในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | โบราณคดี |
สาขาวิชา | โบราณคดี |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2562 (2019) |
จำนวนหน้า | 316 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญรูปภาพ
บทที่ 1 บทนำ
เกณฑ์การสุ่มตัวอย่างแหล่งโบราณคดี
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ของการศึกษา
พื้นที่ศึกษา
วิธีการและขั้นตอนของการศึกษา
ข้อจำกัดของการศึกษา
คำนิยามศัพท์เฉพาะ
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
แนวคิดทฤษฎี - การตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดี (Settlement Archaeology)
สภาพภูมิศาสตร์และธรณีวิทยาของลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
การศึกษาทางโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่ผ่านมา
วิธีการศึกษาด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดี
บทที่ 3 แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
วิธีการศึกษาแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
แหล่งโบราณคดีทั้งหมดในพื้นที่ล่มแม่น้ำชีตอนบน
1.1 อำเภอมัญจาคีรี จำนวน 23 แหล่ง
1.3 อำเภอชนบท จำนวน 16 แหล่ง
1.4 อำเภอบ้านไผ่ จำนวน 20 แหล่ง
1.5 อำเภอบ้านแฮด จำนวน 2 แหล่ง
1.6 อำเภอแวงน้อย จำนวน 9 แหล่ง
1.7 อำเภอแวงใหญ่ จำนวน 7 แหล่ง
1.8 อำเภอพระยืน จำนวน 5 แหล่ง.
1.9 อำเภอเมือง จำนวน 16 แหล่ง
2.1 อำเภอเมือง จำนวน 23 แหล่ง
2.2 อำเภอกันทรวิชัย จำนวน 34 แหล่ง
2.3 อำเภอโกสุมพิสัย จำนวน 29 แหล่ง
3.1 อำเภอศรีบุญเรือง จำนวน 24 แหล่ง
4.1 อำเภอภูกระดึง จำนวน 9 แหล่ง
5.1 อำเภอภูเขียว จำนวน 6 แหล่ง
5.2 อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จำนวน 6 แหล่ง
5.3 อำเภอบ้านแท่น จำนวน 2 แหล่ง
5.4 อำเภอคอนสาร จำนวน 1 แหล่ง
5.5 อำเภอเมือง จำนวน 9 แหล่ง
5.6 อำเภอคอนสวรรค์ จำนวน 2 แหล่ง
5.7 อำเภอจัตุรัส จำนวน 3 แหล่ง
5.8 อำเภอบำเหน็จณรงค์ จำนวน 6 แหล่ง
5.9 อำเภอบ้านเขว้า จำนวน 3 แหล่ง
การจัดลำดับอายุสมัยแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
บทที่ 4 บทวิเคราะห์
การวิเคราะห์เรื่องการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดีด้วยแนวคิดทฤษฎีแหล่งกลาง (Central Place Theory) และการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น (Settlement Hierarchy)
แหล่งโบราณคดีสำคัญที่วิเคราะห์ผ่านแนวคิดการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น
ข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการผลิตเกลือสินเธาว์ในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
เมืองโบราณขนาดใหญ่ที่คาดว่าน่าจะเป็นเมืองศูนย์กลางของรัฐหรืออาณาจักร
ศูนย์กลางวัฒนธรรมทวารวดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
ศูนย์กลางวัฒนธรรมเขมรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
การวิเคราะห์เรื่องการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดีด้วยแนวคิดเชิงสัญลักษณ์
อิทธิพลทางการเมืองของเขมร
ผังเมืองและการจัดการน้ำ
วิพากษ์ผลการศึกษาเดิมเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐาน
อภิปรายผลการศึกษา
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
ข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ภาคผนวก
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดขอนแก่น
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดมหาสารคาม
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดเลย
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดหนองบัวลำภู
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดชัยภูมิ
ประวัติผู้เขียน
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญรูปภาพ
บทที่ 1 บทนำ
เกณฑ์การสุ่มตัวอย่างแหล่งโบราณคดี
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ประโยชน์ของการศึกษา
พื้นที่ศึกษา
วิธีการและขั้นตอนของการศึกษา
ข้อจำกัดของการศึกษา
คำนิยามศัพท์เฉพาะ
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
แนวคิดทฤษฎี - การตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดี (Settlement Archaeology)
สภาพภูมิศาสตร์และธรณีวิทยาของลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
การศึกษาทางโบราณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่ผ่านมา
วิธีการศึกษาด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดี
บทที่ 3 แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
วิธีการศึกษาแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
แหล่งโบราณคดีทั้งหมดในพื้นที่ล่มแม่น้ำชีตอนบน
1.1 อำเภอมัญจาคีรี จำนวน 23 แหล่ง
1.3 อำเภอชนบท จำนวน 16 แหล่ง
1.4 อำเภอบ้านไผ่ จำนวน 20 แหล่ง
1.5 อำเภอบ้านแฮด จำนวน 2 แหล่ง
1.6 อำเภอแวงน้อย จำนวน 9 แหล่ง
1.7 อำเภอแวงใหญ่ จำนวน 7 แหล่ง
1.8 อำเภอพระยืน จำนวน 5 แหล่ง.
1.9 อำเภอเมือง จำนวน 16 แหล่ง
2.1 อำเภอเมือง จำนวน 23 แหล่ง
2.2 อำเภอกันทรวิชัย จำนวน 34 แหล่ง
2.3 อำเภอโกสุมพิสัย จำนวน 29 แหล่ง
3.1 อำเภอศรีบุญเรือง จำนวน 24 แหล่ง
4.1 อำเภอภูกระดึง จำนวน 9 แหล่ง
5.1 อำเภอภูเขียว จำนวน 6 แหล่ง
5.2 อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จำนวน 6 แหล่ง
5.3 อำเภอบ้านแท่น จำนวน 2 แหล่ง
5.4 อำเภอคอนสาร จำนวน 1 แหล่ง
5.5 อำเภอเมือง จำนวน 9 แหล่ง
5.6 อำเภอคอนสวรรค์ จำนวน 2 แหล่ง
5.7 อำเภอจัตุรัส จำนวน 3 แหล่ง
5.8 อำเภอบำเหน็จณรงค์ จำนวน 6 แหล่ง
5.9 อำเภอบ้านเขว้า จำนวน 3 แหล่ง
การจัดลำดับอายุสมัยแหล่งโบราณคดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
บทที่ 4 บทวิเคราะห์
การวิเคราะห์เรื่องการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดีด้วยแนวคิดทฤษฎีแหล่งกลาง (Central Place Theory) และการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น (Settlement Hierarchy)
แหล่งโบราณคดีสำคัญที่วิเคราะห์ผ่านแนวคิดการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น
ข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการผลิตเกลือสินเธาว์ในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
เมืองโบราณขนาดใหญ่ที่คาดว่าน่าจะเป็นเมืองศูนย์กลางของรัฐหรืออาณาจักร
ศูนย์กลางวัฒนธรรมทวารวดีในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
ศูนย์กลางวัฒนธรรมเขมรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบน
การวิเคราะห์เรื่องการตั้งถิ่นฐานทางโบราณคดีด้วยแนวคิดเชิงสัญลักษณ์
อิทธิพลทางการเมืองของเขมร
ผังเมืองและการจัดการน้ำ
วิพากษ์ผลการศึกษาเดิมเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐาน
อภิปรายผลการศึกษา
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
ข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ภาคผนวก
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดขอนแก่น
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดมหาสารคาม
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดเลย
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดหนองบัวลำภู
แหล่งโบราณคดีที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดชัยภูมิ
ประวัติผู้เขียน
การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการตั้งถิ่นฐานของภูมิภาคลุ่มแม่น้ำชีตอนบน ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 โดยมีการนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และทฤษฎีแหล่งกลางมาช่วยในการวิเคราะห์และตอบคำถามวิจัย ซึ่งได้กำหนด “แหล่งโบราณคดีสำคัญ” จากคุณสมบัติโดดเด่นบางประการ พบชุมชนโบราณที่มีคูน้ำคันดินขนาดใหญ่ซึ่งอาจจะเป็นศูนย์กลาง กับแหล่งโบราณคดีอันเป็นบริวาร ซึ่งมีรูปแบบการตั้งถิ่นฐานแบบกระจุกตัวเป็นกลุ่มตามแนวลำน้ำชี โดยมีลักษณะของการตั้งถิ่นฐานตามลำดับชั้น ผลการศึกษาสามารถแบ่งการตั้งถิ่นฐานได้ 5 ระยะ ดังนี้ 1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย สมัยเหล็ก (ราว 2,500 ปีมาแล้ว – พุทธศตวรรษที่ 12) พบการตั้งถิ่นฐานเป็นกลุ่มตามที่สูง และเนินดินตามที่ราบลุ่มใกล้หนองน้ำ บางแห่งมีการขุดคูน้ำล้อมรอบ หรืออยู่ใกล้แหล่งเกลือ 2. ชุมชนยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร ก่อนเมืองพระนคร (ราวพุทธศตวรรษที่ 12-14) ไม่ปรากฏในพื้นที่ศึกษา แต่กลับพบบริเวณตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ 3. ชุมชนยุคประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี (ราวพุทธศตวรรษที่ 14-16) ส่วนใหญ่มีพัฒนาการจากชุมชนสมัยเหล็ก นิยมตั้งถิ่นฐานตามเนินดินบนที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง ชุมชนขนาดใหญ่จะมีคูน้ำคันดิน สันนิษฐานว่าเป็นศูนย์กลางชุมชนโดยรอบ หลักฐานที่พบโดยทั่วไปคือ หลักหิน – ใบเสมา ตามคติพุทธศาสนา 4. ชุมชนยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร (พุทธศตวรรษที่ 16-17) นิยมตั้งถิ่นฐานใกล้หนองน้ำใหญ่ แยกตัวออกจากชุมชนสมัยทวารวดี ส่วนศาสนสถานมักอยู่บนที่ราบน้ำท่วมไม่ถึง มีการสร้างบาราย 5. ชุมชนยุคประวัติศาสตร์ สมัยเขมร (พุทธศตวรรษที่ 18) ส่วนมากมีพัฒนาการต่อเนื่องจากสมัยก่อนหน้า และมีการสร้างศาสนสถานตามความนิยม อยู่ใกล้กับชุมชนเดิมทั้งสองศาสนา