ผู้เขียน | ปลฉัตร กลิ่นบางพูด |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | การศึกษา "จฺยาม" |
มหาวิทยาลัย | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
คณะ | ศิลปกรรมศาสตร์ |
สาขาวิชา | มานุษยดุริยางควิทยา |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2556 () |
จำนวนหน้า | 125 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
1 บทนำ..
ภูมิหลัง
ความมุ่งหมายของการวิจัย
ความสำคัญของการวิจัย
ของเขตการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
กรอบแนวคิดในการวิจัย
2 เอกสารตำราวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับดนตรี
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3 วิธีดำเนินงานการศึกษาค้นคว้า
ขั้นรวบรวมข้อมูล
วิธีดำเนินการรวบรวมข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
4 การวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 ศึกษาประวัติความเป็นมาและวิธีการประดิษฐ์ จฺยาม
ประวัติความเป็นมาของ “จุยาม”
บทบาทและหน้าที่ของ “จยาม” ในวงดนตรีมอญ
วิธีการประดิษฐ์ จุยาม
ตอนที่ 2 ศึกษาเทคนิคการบรรเลงและบทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
เทคนิคการบรรเลง “ยาม”
บทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
เพลงสองพญาหงส์ทอง (ซโมบป๊อบโทว)
เพลงหนึ่งในหน้าที่ (ป้าละหยายมัว)
เพลงสถานรื่นรมย์ของหงส์ทอง (ห้ามละโหย บ๊อบโทว)
เพลงรำ 12 ท่า (จ๊าวบ๋านัว)
เพลงวัฒนธรรมสุวรรณภูมิ (เยนสะม่าย ซ่าววะนะเพิ่ง)
5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป
1 บทนำ..
ภูมิหลัง
ความมุ่งหมายของการวิจัย
ความสำคัญของการวิจัย
ของเขตการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
กรอบแนวคิดในการวิจัย
2 เอกสารตำราวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับดนตรี
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3 วิธีดำเนินงานการศึกษาค้นคว้า
ขั้นรวบรวมข้อมูล
วิธีดำเนินการรวบรวมข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
4 การวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 ศึกษาประวัติความเป็นมาและวิธีการประดิษฐ์ จฺยาม
ประวัติความเป็นมาของ “จุยาม”
บทบาทและหน้าที่ของ “จยาม” ในวงดนตรีมอญ
วิธีการประดิษฐ์ จุยาม
ตอนที่ 2 ศึกษาเทคนิคการบรรเลงและบทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
เทคนิคการบรรเลง “ยาม”
บทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
เพลงสองพญาหงส์ทอง (ซโมบป๊อบโทว)
เพลงหนึ่งในหน้าที่ (ป้าละหยายมัว)
เพลงสถานรื่นรมย์ของหงส์ทอง (ห้ามละโหย บ๊อบโทว)
เพลงรำ 12 ท่า (จ๊าวบ๋านัว)
เพลงวัฒนธรรมสุวรรณภูมิ (เยนสะม่าย ซ่าววะนะเพิ่ง)
5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป
ปริญญานิพนธ์เรื่องการศึกษา “จยาม” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ศูนย์
วัฒนธรรมมอญ หมู่บ้านวังกะ บ้านเลขที่ 120 หมู่ 2 ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา วิธีการประดิษฐ์ “จุยาม” เทคนิควิธีการบรรเลงบทบาท
หน้าที่ของ จุยาม ในวงปี่พาทย์มอญหงสาวดี และบทเพลงที่ใช้ในโอกาสต่างๆ
จากการศึกษาพบว่า จยามจะเข้) เป็นเครื่องดนตรีประจำชาติของชาวมอญ สันนิษฐานว่าเป็นที่
รู้จักในประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ซึ่งเกิดจากตำนานความรักของเจ้าชายกับเจ้าหญิง
สองเมืองที่มีแม่น้ำกั้นกลาง และมีจระเข้อาศัยอยู่มากมาย เวลาที่เจ้าชายจะไปพบเจ้าหญิงจะมีจระเข้ตัว
หนึ่งคอยพเข้ามแม่น้ำไป จนวันหนึ่งโดนจระเข้ตัวอื่นรุมทำร้าย จนเสียชีวิตและทำให้เจ้าชายที่หลบอยู่ใน
ปากเสียชีวิตไปด้วย จึงทำให้ทุกคนยกย่องเคารพบูชาจระเข้ที่มีความซื่อสัตย์และเสียสละ จึงเกิดเป็น
สัญลักษณ์ เครื่องดนตรีของชาวมอญที่เรียกว่า “ยาม” เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายใช้การดีดให้
เกิดเสียง เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงประสมในวงดนตรีมอญ มีหน้าที่ดำเนินทำนองหลักของวง ทำจาก
ไม้ขนุน แกะสลักเหมือนตัวจระเข้จริงๆ มีลวดลายเป็นเกล็ด มีปากอ้า มีหัว มีตา มีขา มีเท้า และมีหางที่
โค้งงอน ขุดเจาะลำตัวทะลุเป็นโพรงเพื่อให้เกิดเสียง มีสายจำนวน 3 สาย มีนม จำนวน 13 นม
วิธีการบรรเลงจะใช้ไม้ดีดทรงกลมแหลม ลักษณะเหมือนดินสอ ทำด้วยไม้ เขาสัตว์ หรืองาช้าง
มีลักษณะวิธีการดีดคล้ายกับการดีดจะเข้ของไทย การเทียบเสียงจะเทียบสายที่ 1 คือเสียง ฟา (F) สายที่ 2
คือเสียงโด (C) สายที่ 3 คือเสียงฟา (F) การบรรเลง ยาม ส่วนมากจะดำเนินทำนองบนสายเอกหรือสายที่
หนึ่งเป็นส่วนใหญ่ บางครั้งก็จะเล่นควบคู่กันไปกับสายที่ 2 หรือสายที่ 3 วิธีการดีดจะดีดเข้าเพียงอย่าง
เดียว นอกจากเวลารัวหรือกรอเสียงจะดีดเข้าออกเข้าอย่างสม่ำเสมอเหมือนของไทย ก่อนที่จะประดิษฐ์
จยาม ในครั้งแรกจะมีพิธีบูชาครูหรือเซ่นไหว้ครูที่เรียกว่า “อาม่ายอาแจ้” ทั้งนี้ พิธีกรรมดังกล่าวยังใช้
กระทำก่อนการบรรเลงหรือการแสดงทุกครั้งอีกด้วย วงปี่พาทย์มอญหงสาวดีได้ก่อตั้งขึ้นเพื่ออนุรักษ์และ
สืบทอดศิลปะของชาวมอญ เพื่อใช้บรรเลงและประกอบการแสดงในโอกาสต่างๆ เช่น งานประเพณีของ
หมู่บ้าน งานต้อนรับแขก และงานมงคลทั่วไป บทเพลงที่นิยมใช้บรรเลงได้แก่ เพลงสองพญาหงส์ทอง
เพลงหนึ่งในหน้าที่หรือเพลงบูชาเจ้าพ่อหลักเมือง เพลงสถานรื่นรมย์ของหงส์ทอง เพลงรำ 12 ท่า และ
เพลงวัฒนธรรมสุวรรณภูมิ จะเห็นได้ว่า จุยาม เป็นเครื่องดนตรีที่เก่าแก่ของชาวมอญ ควรค่าแก่การ
อนุรักษ์และเผยแพร่สู่อนุชนรุ่นหลังสืบไป