หน้าแรก วิทยานิพนธ์ พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม

พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม

พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม

ผู้เขียน นิติพันธุ์ ศิริทรัพย์
ชื่อวิทยานิพนธ์ พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2524 (1981)
จำนวนหน้า 171
ภาษา ภาษาไทย

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

กิติกรรมประกาศ

บทนำ

บทที่ 1 

       อาณาจักรทวารดีที่นครปฐม

บทที่ 2

       ประวัติการสร้างพระพิมพ์

บทที่ 3 

       พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม

       คติการสร้าง

บทที่ 4

       การเปรียบเทียบและวิเคราะห์

บทที่ 5 

       บทสรุป

สารบัญภาพประกอบ

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

พระพิมพ์ ทวารวดี นครปฐม ศิลปะ พุทธศาสนา

ยุคสมัย

ทวารวดี

จำนวนผู้เข้าชม

139

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

20 ก.พ. 2567

พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม

  • พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม
  • ผู้เขียน
    นิติพันธุ์ ศิริทรัพย์

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2524 (1981)

    จำนวนหน้า
    171

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

    กิติกรรมประกาศ

    บทนำ

    บทที่ 1 

           อาณาจักรทวารดีที่นครปฐม

    บทที่ 2

           ประวัติการสร้างพระพิมพ์

    บทที่ 3 

           พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม

           คติการสร้าง

    บทที่ 4

           การเปรียบเทียบและวิเคราะห์

    บทที่ 5 

           บทสรุป

    สารบัญภาพประกอบ


  • บทคัดย่อ
  • วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ทำการศึกษาเกี่ยวกับ พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดี ซึ่งพบที่เมืองนครปฐมโบราณจำนวน 30 องค์ และเปรียบเทียบกับพระพิมพ์ แหล่งอื่นกับพระพุทธรูปที่เกี่ยวข้องอีก 15 องค์ เพื่อที่ศึกษาทางด้านรูปแบบ เรื่องราว, ศิลปะ, จารึก, ของพระพิมพ์สมัยทวารวดีซึ่งพบในพื้นที่ดังกล่าวจากการศึกษา ปรากฏว่าสามารถจัดกลุ่มได้เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 พระพิมพ์ที่มีลักษณะเป็นเรื่องราว, กลุ่มที่ 2 พระพิมพ์ที่มีสถูปประกอบ, กลุ่มที่ 3 พระพิมพ์แบบพระพุทธรูปปางสมาธิมีประภามณฑล การวิเคราะห์และกำหนดอายุว่าพระพิมพ์ซึ่งพบที่นครปฐมโบราณ เป็นพระพิมพ์ที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นการสืบศาสนา พระพิมพ์ที่นครปฐมในขั้นแรก รับอิทธิพลพุทธศาสนานิกายหินยานที่ใช้ภาษาสันสกฤตที่เผยแพร่มาจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย นิกายหินยานแบบเถรวาท ที่ใช้ภาษาบาลีที่เผยแพร่มาจากตอนใต้ของประเทศอินเดีย เข้าผสมกับลัทธิเดิม ซึ่งเห็นได้ชัดจากพระพิมพ์ในช่วงหลังมีอิทธิพลศิลปะซึ่งนับถือพุทธศาสนานิกายมหายาน ที่เผยแพร่มาจากทิศเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียปนอยู่ด้วย จากการศึกษาแหล่งที่พบแหล่งที่มาทางด้านศิลปะเนื่องในพุทธศาสนาของเมืองนครปฐมโบราณได้อีกทางหนึ่ง


    ห้องสมุดแนะนำ

    ลิงก์ที่มา
    -

    ประเด็นสำคัญ
    ศาสนา, ศิลปะ,

    ยุคสมัย
    ทวารวดี

    คำสำคัญ
    พระพิมพ์ ทวารวดี นครปฐม ศิลปะ พุทธศาสนา


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 20 ก.พ. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 139