ผู้เขียน | เชาวณา ไข่แก้ว |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | การศึกษาเส้นทางข้ามคาบสมุทรไทยตอนบน |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | โบราณคดี |
สาขาวิชา | โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2554 (2011) |
จำนวนหน้า | 217 |
ภาษา | ภาษาไทย |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญแผนที่
สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนำ
- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
- ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
- สมมติฐานของการวิจัย
- ขอบเขตการวิจัย
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
- ขั้นตอนการวิจัย
- แหล่งข้อมูล
บทที่ 2 การศึกษาเส้นทางข้ามคาบสมุทรไทยที่ผ่านมา
บทที่ 3 หลักฐานเอกสารเกี่ยวกับคาบสมุทรไทยตอนบน
- หลักฐานเอกสารต่างชาติ
- หลักฐานเอกสารจีน
- หลักฐานเอกสารอินเดีย
- หลักฐานเอกสารอาหรับ
- หลักฐานเอกสารมาเลเซีย
- หลักฐานเอกสารตะวันตก
- หลักฐานเอกสารไทย
- ตำนานเจ้าแม่ทองร่อน (ตำนานเมืองสามแก้ว)
- ตำนานเมืองนครศรีธรรมราช
- ตำนานเมืองรับร่อ (ตำนานอ้ายเตย์)
- ตำนานเจ้าอ้ายพญาและเจ้าญี่พญา (ตำนานเข้าเจดีย์)
- ตำนานพระธาตุสวี
- กฎหมายตราสามดวง
- ตำนานพระแก้วโกรพ
- ตำนานพระขยางค์
- พงศาวดารไทยรบพม่า (สมัยอยุธยาตอนปลาย)
- พงศาวดารเมืองนครศรีธรรมราช (ฉบับหลวงอนุสารสิทธิกรรม)
- พงศาวดารไทยรบพม่า (สมัยรัตนโกสินทร์)
- กรณีขุดคลองกระ เมื่อพ.ศ.2401
- ตำนานเมืองระนอง
- หนังสือชีวิวัฒน์
- จดหมายเหตุพระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสแหลมมลายู คราว ร.ศ.107, 108, 109, 117, 119 และ124
- จดหมายเหตุพระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้ คราว ร.ศ.128
- จดหมายเหตุพระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสแหลมมลายู คราว ร.ศ.128
บทที่ 4 การศึกษาเส้นทางข้ามคาบสมุทรจากหลักฐานโบราณคดี
- สภาพภูมิประเทศพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
- บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกติดทะเลอันดามัน
- บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกติดอ่าวไทย
- พื้นที่ภายในหรือกลางคาบสมุทร
- รายละเอียดของแหล่งโบราณคดี (จำนวน 70 แหล่ง)
- สรุปผลการศึกษาแหล่งโบราณคดี
- ประเภทของแหล่งโบราณคดี
- อายุสมัยของแหล่งโบราณคดี
- ตารางสรุปผลการศึกษาแหล่งโบราณคดี
บทที่ 5 บทวิเคราะห์
- ผลการจำแนกแหล่งโบราณคดีตามยุคสมัย จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก
- การขุดค้น
- แหล่งโบราณคดีจากการขุดค้นทางโบราณคดี
- แหล่งโบราณคดีจากการสำรวจ
- การกระจายตัวของแหล่งโบราณคดี
- การจำแนกแหล่งโบราณคดี
- จำนวนและตำแหน่งของแหล่งโบราณคดี ที่พบตามช่วงสมัย
- ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับเส้นทางข้ามคาบสมุทรไทยตอนบน
- สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่
- สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์
- สมัยประวัติศาสตร์ (ศรีวิชัย)
- สมัยนครศรีธรรมราช
- สมัยอยุธยาตอนต้นถึงตอนกลาง
- สมัยอยุธยาตอนปลาย
- สมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์
บทที่ 6 บทสรุป
- แหล่งโบราณคดีในพื้นที่ดำเนินการศึกษา จำนวน 70 แหล่ง
- สันนิษฐานการใช้เส้นทางข้ามคาบสมุทรในพื้นที่ดำเนินการศึกษา 3 ช่วงสมัย
- ผลสรุปจากการวิเคราะห์เส้นทางข้ามคาบสมุทร
- กรณีขัดแย้งที่พบจากการวิจัย
- ข้อมูลใหม่ที่ได้จากการวิจัย
- ข้อเสนอแนะที่ใช้ดำเนินการศึกษาต่อไป
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญแผนที่
สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนำ
- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
- ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
- สมมติฐานของการวิจัย
- ขอบเขตการวิจัย
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
- ขั้นตอนการวิจัย
- แหล่งข้อมูล
บทที่ 2 การศึกษาเส้นทางข้ามคาบสมุทรไทยที่ผ่านมา
บทที่ 3 หลักฐานเอกสารเกี่ยวกับคาบสมุทรไทยตอนบน
- หลักฐานเอกสารต่างชาติ
- หลักฐานเอกสารจีน
- หลักฐานเอกสารอินเดีย
- หลักฐานเอกสารอาหรับ
- หลักฐานเอกสารมาเลเซีย
- หลักฐานเอกสารตะวันตก
- หลักฐานเอกสารไทย
- ตำนานเจ้าแม่ทองร่อน (ตำนานเมืองสามแก้ว)
- ตำนานเมืองนครศรีธรรมราช
- ตำนานเมืองรับร่อ (ตำนานอ้ายเตย์)
- ตำนานเจ้าอ้ายพญาและเจ้าญี่พญา (ตำนานเข้าเจดีย์)
- ตำนานพระธาตุสวี
- กฎหมายตราสามดวง
- ตำนานพระแก้วโกรพ
- ตำนานพระขยางค์
- พงศาวดารไทยรบพม่า (สมัยอยุธยาตอนปลาย)
- พงศาวดารเมืองนครศรีธรรมราช (ฉบับหลวงอนุสารสิทธิกรรม)
- พงศาวดารไทยรบพม่า (สมัยรัตนโกสินทร์)
- กรณีขุดคลองกระ เมื่อพ.ศ.2401
- ตำนานเมืองระนอง
- หนังสือชีวิวัฒน์
- จดหมายเหตุพระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสแหลมมลายู คราว ร.ศ.107, 108, 109, 117, 119 และ124
- จดหมายเหตุพระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้ คราว ร.ศ.128
- จดหมายเหตุพระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสแหลมมลายู คราว ร.ศ.128
บทที่ 4 การศึกษาเส้นทางข้ามคาบสมุทรจากหลักฐานโบราณคดี
- สภาพภูมิประเทศพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
- บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกติดทะเลอันดามัน
- บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกติดอ่าวไทย
- พื้นที่ภายในหรือกลางคาบสมุทร
- รายละเอียดของแหล่งโบราณคดี (จำนวน 70 แหล่ง)
- สรุปผลการศึกษาแหล่งโบราณคดี
- ประเภทของแหล่งโบราณคดี
- อายุสมัยของแหล่งโบราณคดี
- ตารางสรุปผลการศึกษาแหล่งโบราณคดี
บทที่ 5 บทวิเคราะห์
- ผลการจำแนกแหล่งโบราณคดีตามยุคสมัย จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก
- การขุดค้น
- แหล่งโบราณคดีจากการขุดค้นทางโบราณคดี
- แหล่งโบราณคดีจากการสำรวจ
- การกระจายตัวของแหล่งโบราณคดี
- การจำแนกแหล่งโบราณคดี
- จำนวนและตำแหน่งของแหล่งโบราณคดี ที่พบตามช่วงสมัย
- ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับเส้นทางข้ามคาบสมุทรไทยตอนบน
- สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่
- สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์
- สมัยประวัติศาสตร์ (ศรีวิชัย)
- สมัยนครศรีธรรมราช
- สมัยอยุธยาตอนต้นถึงตอนกลาง
- สมัยอยุธยาตอนปลาย
- สมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์
บทที่ 6 บทสรุป
- แหล่งโบราณคดีในพื้นที่ดำเนินการศึกษา จำนวน 70 แหล่ง
- สันนิษฐานการใช้เส้นทางข้ามคาบสมุทรในพื้นที่ดำเนินการศึกษา 3 ช่วงสมัย
- ผลสรุปจากการวิเคราะห์เส้นทางข้ามคาบสมุทร
- กรณีขัดแย้งที่พบจากการวิจัย
- ข้อมูลใหม่ที่ได้จากการวิจัย
- ข้อเสนอแนะที่ใช้ดำเนินการศึกษาต่อไป
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักฐานที่ได้จากแหล่งสำรวจขุดค้นทางโบราณคดีทุกอำเภอของจังหวัดชุมพร ระนอง และอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี นำมาใช้สร้างแผนที่และข้อสันนิษฐานการใช้เส้นทางข้ามคาบสมุทร ระหว่างฝั่งตะวันตก (อันดามัน) ไปยังฝั่งตะวันออก (อ่าวไทย) ตั้งแต่สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ พุทธศตวรรษที่ 5-11 จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ สิ้นสุดปีพุทธศักราช 2452 ผลการศึกษาข้อมูลจากแหล่งโบราณคดีบนพื้นที่ที่ดำเนินการศึกษาจำนวน 70 แหล่ง ปรากฏว่า มีเส้นทางข้ามคาบสมุทรที่ใช้ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินใหม่ (ประมาณ 500 ปีก่อนพุทธกาล – พุทธศตวรรษที่ 5) จำนวน 3 เส้นทางคือ เส้นทางที่ 1. กระบุรี – ทุ่งตะโก เส้นทางที่ 2. เมืองระนอง – ทุ่งตะโก เส้นทางที่ 3. กะเปอร์ – ทุ่งตะโก / หลังสวน โดยเส้นทางที่ 3 ใช้ต่อเนื่องจนถึงสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ (พุทธศตวรรษที่ 5-11) ในช่วงสมัยนี้ ได้ขยายเส้นทางจากแหล่งเมืองท่าที่กะเปอร์ ลงสู่แหล่งเมืองท่าที่ภูเขาทอง เส้นทางที่ 3 นี้ ไม่ปรากฏการใช้ในช่วงสมัยประวัติศาสตร์ (ศรีวิชัย) (พุทธศตวรรษที่ 12-18) สมัยนครศรีธรรมราช (ปลายพุทธศตวรรษที่ 18 – ต้นพุทธศตวรรษที่ 20) สมัยอยุธยาตอนต้นถึงตอนกลาง (ปลายพุทธศตวรรษที่ 20 – พุทธศตวรรษที่ 22) สมัยอยุธยาตอนปลาย (พุทธศตวรรษที่ 23 – ต้นพุทธศตวรรษที่ 24) แต่มาปรากฏใช้ในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 24 – 25) ซึ่งมีแหล่งทางฝั่งตะวันออกมากขึ้นกว่าสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ ในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ยังปรากฏการใช้เส้นทางเพิ่มขึ้น คือ เส้นทางกระบุรี (ปากจั่น) – ปากน้ำชุมพร ซึ่งไม่พบการใช้เส้นทางนี้ในช่วงสมัยประวัติศาสตร์ (ศรีวิชัย), สมัยนครศรีธรรมราช, สมัยอยุธยาตอนต้นถึงตอนกลาง, สมัยอยุธยาตอนปลาย ดังนั้นผลการศึกษาจึงคัดค้านสมมติฐานการวิจัยที่ว่ามีการใช้เส้นทางข้ามคาบสมุทรไทยตอนบน 4 เส้นทางและมีการใช้อย่างสืบเนื่องทุกเส้นทาง
ในการศึกษาได้พบว่า สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ มีเมืองท่าอยู่สองฝั่งทะเลคือ แหล่งปากจั่นที่ฝั่งตะวันตก (อันดามัน) และแหล่งเขาสามแก้วที่ฝั่งตะวันออก (อ่าวไทย) และสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์มีชุมชนสองฝั่งทะเลคือ ชุมชนเมืองระนอง และชุมชนเมืองหลังสวน ซึ่งอยู่ในตำแหน่งละติจูดที่ใกล้เคียงกัน แต่ยังไม่พบแหล่งโบราณคดีกลางคาบสมุทรที่ยืนยันถึงการใช้เส้นทางข้ามคาบสมุทรเชื่อมแหล่งสองฝั่งทะเลนี้ จึงน่าจะมีการศึกษาค้นคว้าหาแหล่งโบราณคดีกลางคาบสมุทรระหว่างเส้นทางเหล่านี้ต่อไป