ผู้เขียน | สันติ์ ไทยานนท์ |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | การศึกษาลำดับพัฒนาการวัฒนธรรมทางโบราณคดีเมืองอู่ทอง |
มหาวิทยาลัย | มหาวิทยาลัยศิลปากร |
คณะ | บัณฑิตวิทยาลัย |
สาขาวิชา | โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2554 (2011) |
จำนวนหน้า | 212 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
สารบัญแผนผัง
สาบัญลายเส้น
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญ
เมืองอู่ทองกับการดำเนินงานทางโบราณคดีที่ผ่านมา
วัตถุประสงค์การศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ขอบเขตงานวิจัย
ระเบียบวิธีขั้นตอนการศึกษา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แหล่งข้อมูล
บทที่ 2 สภาพภูมิศาสตร์ และที่ตั้งเมืองอู่ทอง
สภาพภูมิศาสตร์
สภาพภูมิประเทศ
ทรัพบากรธรรมชาติ
สภาพภูมิอากาศ
พิกัดที่ตั้งเมืองโบราณอู่ทอง
สิ่งศักดิ์สิทธิ์สำคัญที่ประชาชนนับถือประจำเมืองอู่ทอง
บทที่ 3 การดำเนินงานทางโบราณคดี
หลักฐานด้านโบราณสถานภายในเมืองอู่ทอง
การสำรวจเพื่อกำหนดพื้นที่ในการขุดค้นทางโบราณคดี
การขุดค้นทางโบราณคดี
หลุมขุดทดสอบ TP.1 (คันดินคูเมืองทิศตะวันตก)
สรุปผลการขุดค้นหลุมขุดทดสอบ TP.1
หลุมขุดทดสอบ TP.2
สรุปผลการขุดค้นหลุมขุดทดสอบ TP.2
หลุมขุดทดสอบ TP.3
สรุปผลการขุดค้นหลุมขุดทดสอบ TP.3
บทที่ 4 วิเคราะห์หลักฐานทางโบราณคดี
คูน้ำ-คันดิน เมืองโบราณอู่ทอง
การจัดลำดับชั้นทับถมทางวัฒนธรรม TP.1
วิเคราะห์หลักฐานสำคัญที่พบจากชั้นวัฒนธรรมคันดินคูเมือง
โครงกระดูกและการฝังศพ
ภาชนะมีจารึก
เศษภาชนะลายคลื่นเคลือบน้ำดินสีแดง
ผลการกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์
สรุปผลการกำหนดอายุสมัยคันดิน
สรุปผลการขุดค้นคันดินคูเมือง
วิเคราะห์หลักฐานประเภทโบราณวัตถุประเภทต่าง ๆ จากหลุมขุดค้น TP.2 และTP.3
โบราณวัตถุประเภทดินเผา
ภาชนะดินเผา
ภาชนะประเภทหม้อมีสัน
ภาชนะประเภทชาม, อ่าง
ภาชนะประเภทหม้อและไห
ส่วนฐาน, ก้นภาชนะ
ภาชนะจากต่างถิ่น
ตะคันดินเผา
เทคนิคการตบแต่งภาชนะ
เทคนิคการทาน้ำดินและเขียนสี
เทคนิคการขูดขีด, ขุด
เทคนิคการทาน้ำดินผสมขูดขีด
เทคนิคการกดประทับ
เทคนิคการขัดมันเป็นริ้ว
เทคนิคการปั้นแปะ
เบี้ยดินเผา
แวดินเผา
กระสุนดินเผา
กระเบื้องดินเผา
อิฐ
ตราประทับและก้อนดินที่ถูกประทับตรา
ตุ๊กตาดินเผาและดินเผาไฟเป็นรูปต่าง ๆ
ดินเผาไฟที่ใช้ในพิธีกรรม
ชิ้นส่วนประติมากรรมหิน
โบราณวัตถุประเภทลูกปัดแก้ว
โบราณวัตถุประเภทโลหะ
ห่วงตะกั่ว
ใบมีดเหล็ก
เงินและทองแดง
ตะกรันขี้แร่
โบราณวัตถุประเภทพืช
ข้าว
หลักฐานประเภทนิเวศวัตถุ
หลุมขุดค้น TP.2
หลุมขุดค้น TP.3
การจัดลำดับชั้นทับถมทางวัฒนธรรม TP.2
ผลการกำหนดอายุชั้นวัฒนธรรม
ผลการกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์
สรุปการจัดอายุชั้นวัฒนธรรม TP.2
การจัดลำดับชั้นทับถมทางวัฒนธรรม TP.3
ผลการกำหนดอายุชั้นวัฒนธรรม
ผลการกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์
สรุปการจัดอายุชั้นวัฒนธรรม TP.3
สรุปการตีความจากหลักฐานทางโบราณคดีในบริบทต่าง ๆ ของแหล่งโบราณคดีเมืองอู่ทอง
ด้านสภาพของสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตในอดีต
สภาพเศรษฐกิจและสังคม
ศาสนาและคติความเชื่อ
การเมืองการปกครอง
บทที่ 5 สรุปผลการวิเคราะห์หลักฐานทางโบราณคดี
ข้อมูลใหม่ที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้
ข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
สารบัญแผนผัง
สาบัญลายเส้น
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญ
เมืองอู่ทองกับการดำเนินงานทางโบราณคดีที่ผ่านมา
วัตถุประสงค์การศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ขอบเขตงานวิจัย
ระเบียบวิธีขั้นตอนการศึกษา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แหล่งข้อมูล
บทที่ 2 สภาพภูมิศาสตร์ และที่ตั้งเมืองอู่ทอง
สภาพภูมิศาสตร์
สภาพภูมิประเทศ
ทรัพบากรธรรมชาติ
สภาพภูมิอากาศ
พิกัดที่ตั้งเมืองโบราณอู่ทอง
สิ่งศักดิ์สิทธิ์สำคัญที่ประชาชนนับถือประจำเมืองอู่ทอง
บทที่ 3 การดำเนินงานทางโบราณคดี
หลักฐานด้านโบราณสถานภายในเมืองอู่ทอง
การสำรวจเพื่อกำหนดพื้นที่ในการขุดค้นทางโบราณคดี
การขุดค้นทางโบราณคดี
หลุมขุดทดสอบ TP.1 (คันดินคูเมืองทิศตะวันตก)
สรุปผลการขุดค้นหลุมขุดทดสอบ TP.1
หลุมขุดทดสอบ TP.2
สรุปผลการขุดค้นหลุมขุดทดสอบ TP.2
หลุมขุดทดสอบ TP.3
สรุปผลการขุดค้นหลุมขุดทดสอบ TP.3
บทที่ 4 วิเคราะห์หลักฐานทางโบราณคดี
คูน้ำ-คันดิน เมืองโบราณอู่ทอง
การจัดลำดับชั้นทับถมทางวัฒนธรรม TP.1
วิเคราะห์หลักฐานสำคัญที่พบจากชั้นวัฒนธรรมคันดินคูเมือง
โครงกระดูกและการฝังศพ
ภาชนะมีจารึก
เศษภาชนะลายคลื่นเคลือบน้ำดินสีแดง
ผลการกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์
สรุปผลการกำหนดอายุสมัยคันดิน
สรุปผลการขุดค้นคันดินคูเมือง
วิเคราะห์หลักฐานประเภทโบราณวัตถุประเภทต่าง ๆ จากหลุมขุดค้น TP.2 และTP.3
โบราณวัตถุประเภทดินเผา
ภาชนะดินเผา
ภาชนะประเภทหม้อมีสัน
ภาชนะประเภทชาม, อ่าง
ภาชนะประเภทหม้อและไห
ส่วนฐาน, ก้นภาชนะ
ภาชนะจากต่างถิ่น
ตะคันดินเผา
เทคนิคการตบแต่งภาชนะ
เทคนิคการทาน้ำดินและเขียนสี
เทคนิคการขูดขีด, ขุด
เทคนิคการทาน้ำดินผสมขูดขีด
เทคนิคการกดประทับ
เทคนิคการขัดมันเป็นริ้ว
เทคนิคการปั้นแปะ
เบี้ยดินเผา
แวดินเผา
กระสุนดินเผา
กระเบื้องดินเผา
อิฐ
ตราประทับและก้อนดินที่ถูกประทับตรา
ตุ๊กตาดินเผาและดินเผาไฟเป็นรูปต่าง ๆ
ดินเผาไฟที่ใช้ในพิธีกรรม
ชิ้นส่วนประติมากรรมหิน
โบราณวัตถุประเภทลูกปัดแก้ว
โบราณวัตถุประเภทโลหะ
ห่วงตะกั่ว
ใบมีดเหล็ก
เงินและทองแดง
ตะกรันขี้แร่
โบราณวัตถุประเภทพืช
ข้าว
หลักฐานประเภทนิเวศวัตถุ
หลุมขุดค้น TP.2
หลุมขุดค้น TP.3
การจัดลำดับชั้นทับถมทางวัฒนธรรม TP.2
ผลการกำหนดอายุชั้นวัฒนธรรม
ผลการกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์
สรุปการจัดอายุชั้นวัฒนธรรม TP.2
การจัดลำดับชั้นทับถมทางวัฒนธรรม TP.3
ผลการกำหนดอายุชั้นวัฒนธรรม
ผลการกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์
สรุปการจัดอายุชั้นวัฒนธรรม TP.3
สรุปการตีความจากหลักฐานทางโบราณคดีในบริบทต่าง ๆ ของแหล่งโบราณคดีเมืองอู่ทอง
ด้านสภาพของสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตในอดีต
สภาพเศรษฐกิจและสังคม
ศาสนาและคติความเชื่อ
การเมืองการปกครอง
บทที่ 5 สรุปผลการวิเคราะห์หลักฐานทางโบราณคดี
ข้อมูลใหม่ที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้
ข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ประวัติผู้วิจัย
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองโบราณอู่ทอง โดยเน้นการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากการขุดค้นแหล่งโบราณคดีทั้ง 3 แหล่ง ที่ได้ทำการขุดค้นไปแล้วในปี พ.ศ. 2553 ผลที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถจัดลำดับพัฒนาการของเมืองโบราณอู่ทองได้ 4 ระยะ คือ 1) ระยะที่ 1 ก่อนสมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 10) หลักฐานจากการขุดค้นคันดินคูเมืองทำให้ทราบว่า ก่อนหน้านี้พื้นที่บริเวณคันดินคูเมืองได้ปรากฏร่องรอยของชุมชนอยู่อาศัยมาก่อน ชุมชนเหล่านี้ได้รู้จักและติดต่อกับอินเดียมาก่อนหน้าแล้ว นอกจากนั้นยังพบร่องรอยการติดต่อกับเมืองท่าโบราณสำคัญร่วมสมัยทางแถบแหลมอินโดจีน อย่างเช่น เมืองออกแก้ว ประเทศเวียดนาม 2) ระยะที่ 2 แรกเริ่มสมัยทวารวดี (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 11-12) มีการรวมตัวพัฒนาขึ้นเป็นรูปแบบรัฐ จากชุมชนที่อยู่ต่อเนื่องกันมาจากก่อนหน้านี้ ในช่วงนี้เองพบว่าประชาชนมีการใช้ตัวอักษรแล้วซึ่งน่าเป็นผลมาจากการติดต่อทางการค้ากับอินเดีย 3) ระยะที่ 3 สมัยทวารวดี (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-14) พัฒนาเป็นรัฐทวารวดีอย่างเต็มตัว มีการพัฒนาระบบชลประทาน และยังพบร่องรอยของศาสนาพราหมณ์ในช่วงนี้ ที่แหล่งโบราณคดีเนินพลับพลา ซึ่งน่าจะมีความเกี่ยวเนื่องกับชนชั้นปกครองในฐานะเทวราช เพื่อให้ประชาชนเกิดความเลื่อมใสในผู้ปกครองรัฐ 4) ระยะที่ 4 สมัยทวารวดีตอนปลาย (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 15-16) การค้ากับเมืองท่าต่าง ๆ ยังคงเจริญต่อเนื่องเรื่อยมา พบการทำอุตสาหกรรมแปรรูปลูกปัดแก้ว และโลหะ ซึ่งน่าจะเป็นสินค้าส่งออก และมีการติดต่อสัมพันธ์กับเมืองท่าทางภาคใต้ ก่อนที่เมืองอู่ทองต้องเสื่อมลงไปราวพุทธศตวรรษที่ 16 อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิประเทศ