ผู้เขียน | มณศ์ฑิชา โมสาลียานนท์ |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | ร่องรอยของคติพุทธศาสนามหายานในจังหวัดนครศรีธรรมราชก่อนพุทธศตวรรษที่19 |
มหาวิทยาลัย | มหาวิทยาลัยศิลปากร |
คณะ | บัณฑิตวิทยาลัย |
สาขาวิชา | โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2554 (2011) |
จำนวนหน้า | 142 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 คติพุทธศาสนามหายาน
กำเนิดพัฒนาการแนวคิดทางคติพุทธศาสนามหายาน
การศึกษาค้นคว้าพุทธศาสนามหายานในภาคใต้ที่ผ่านมาแล้ว
บทที่ 3 ร่องรอยหลักฐานทางด้านโบราณคดีของพุทธศาสนามหายานที่ปรากฏในนครศรีธรรมราชก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
สภาพภูมิศาสตร์และการตั้งถิ่นฐานในนครศรีธรรมราชก่อนการเข้ามาของพุทธศาสนา
พัฒนาการของชุมชนโบราณสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นในนครศรีธรรมราช
รายละเอียดหลักฐานทางด้านโบราณคดีเกี่ยวกับพุทธศาสนาที่พบในนครศรีธรรมราช ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์เนื่องในพุทธศาสนา
หลักฐานศิลปกรรม
บทที่ 4 บทวิเคราะห์ร่องรอยหลักฐานทางด้านโบราณคดีของพุทธศาสนานิกายมหายานที่ปรากฏในนครศรีธรรมราชก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
การวิเคราะห์หลักฐานทางด้านโบราณคดีเนื่องในพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีการค้นพบในจังหวัดนครศรีธรรมราช
หลักฐานทางโบราณคดีที่เป็นลายลักษณ์
หลักฐานศิลปกรรม
การวิเคราะห์แบบแผนการกระจายตัวของหลักฐานศิลปกรรมพุทธศาสนามหายานในจังหวัดนครศรีธรรมราช ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
ความสัมพันธ์ทางด้านพุทธศาสนามหายานระหว่างนครศรีธรรมราช และอาณาจักรภายนอกก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
บทที่ 5 สรุปร่องรอยคติพุทธศาสนามหายานในนครศรีธรรมราช ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
บรรณานุกรม
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
วิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 คติพุทธศาสนามหายาน
กำเนิดพัฒนาการแนวคิดทางคติพุทธศาสนามหายาน
การศึกษาค้นคว้าพุทธศาสนามหายานในภาคใต้ที่ผ่านมาแล้ว
บทที่ 3 ร่องรอยหลักฐานทางด้านโบราณคดีของพุทธศาสนามหายานที่ปรากฏในนครศรีธรรมราชก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
สภาพภูมิศาสตร์และการตั้งถิ่นฐานในนครศรีธรรมราชก่อนการเข้ามาของพุทธศาสนา
พัฒนาการของชุมชนโบราณสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นในนครศรีธรรมราช
รายละเอียดหลักฐานทางด้านโบราณคดีเกี่ยวกับพุทธศาสนาที่พบในนครศรีธรรมราช ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์เนื่องในพุทธศาสนา
หลักฐานศิลปกรรม
บทที่ 4 บทวิเคราะห์ร่องรอยหลักฐานทางด้านโบราณคดีของพุทธศาสนานิกายมหายานที่ปรากฏในนครศรีธรรมราชก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
การวิเคราะห์หลักฐานทางด้านโบราณคดีเนื่องในพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีการค้นพบในจังหวัดนครศรีธรรมราช
หลักฐานทางโบราณคดีที่เป็นลายลักษณ์
หลักฐานศิลปกรรม
การวิเคราะห์แบบแผนการกระจายตัวของหลักฐานศิลปกรรมพุทธศาสนามหายานในจังหวัดนครศรีธรรมราช ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
ความสัมพันธ์ทางด้านพุทธศาสนามหายานระหว่างนครศรีธรรมราช และอาณาจักรภายนอกก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
บทที่ 5 สรุปร่องรอยคติพุทธศาสนามหายานในนครศรีธรรมราช ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
บรรณานุกรม
ประวัติผู้วิจัย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะแสดงให้เห็นถึงร่องรอยของคติพุทธศาสนามหายานในจังหวัดนครศรีธรรมราชก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 โดยในตอนต้นของงานวิจัยได้กล่าวถึงความเป็นมาของพุทธศาสนานิกายมหายานนิกายต่าง ๆ ที่เผยแพร่จากอินเดียเข้าสู่เอเชีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทย ภาคใต้ของประเทศไทย และพุทธศาสนานิกายมหายานที่ปรากฏในพื้นที่นครศรีธรรมราช ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 และต่อมาได้ศึกษาร่องรอยของคติพุทธศาสนามหายานในจังหวัดนครศรีธรรมราชก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 จากหลักฐานทางด้านโบราณคดีทั้งที่เป็นลายลักษณ์และหลักฐานทางด้านศิลปกรรม ผลของการวิจัยพบว่า คติพุทธศาสนามหายานในจังหวัดนครศรีธรรมราชก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 สามารถแบ่งได้เป็น 2 ช่วง โดยช่วงแรกเป็นคติพุทธนิกายมหายานที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัย ในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 13-18 และช่วงต่อมาเป็นคติพุทธศาสนานิกายตันตระจากเขมรที่แพร่เข้าสู่ภาคใต้ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 18-19 ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18 นครศรีธรรมราชซึ่งได้อยู่ภายใต้อาณาจักรศรีวิชัยและมีการนับถือพุทธศาสนามหายานตามอย่างอาณาจักรศรีวิชัย และได้มีการส่งอิทธิพลของพุทธศาสนามหายานไปยังอาณาจักรทวารวดี ราว 13-16 เนื่องจากปรากฏพบพระพิมพ์ตามคติพุทธศาสนามหายานในจังหวัดนครปฐม นครสวรรค์ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับพระพิมพ์ที่มีการค้นพบในนครศรีธรรมราช ช่วงพุทธศตวรรษที่ 18-19 อันเป็นช่วงที่อาณาจักรศรีวิชัยได้เสื่อมอำนาจลง เป็นผลให้อาณาจักรเขมรที่เจริญอยู่ทางภาคกลางได้ส่งอิทธิพลพุทธศาสนามหายานสู่ภาคใต้ รวมทั้งนครศรีธรรมราช โดยมีการพบหลักฐานทางด้านโบราณคดี อาทิเช่น พระพิมพ์ศิลปะเขมร ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18-19