หน้าแรก วิทยานิพนธ์ พัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองโบราณดงละครจากหลักฐานโบราณคดี

พัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองโบราณดงละครจากหลักฐานโบราณคดี

พัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองโบราณดงละครจากหลักฐานโบราณคดี

ผู้เขียน ธงชัย สาโค
ชื่อวิทยานิพนธ์ พัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองโบราณดงละครจากหลักฐานโบราณคดี
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะ บัณฑิตวิทยาลัย
สาขาวิชา โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2556 (2013)
จำนวนหน้า 399
ภาษา ภาษาไทย
ที่มา ลิงก์ที่มา

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
สารบัญแผนผัง

บทที่ 1 บทนำ
   ความสำคัญของปัญหา
   ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
   ประโยชน์ของการศึกษา
   ขอบเขตของการศึกษา
   ขั้นตอนการศึกษา
   วิธีการศึกษา

บทที่ 2 สภาพภูมิศาสตร์และธรณีสัณฐานบริเวณดงละคร
   ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ของเนินดงละคร
   ธรณีสัณฐานของพื้นที่ดงละคร
   ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับแนวชายฝั่งทะเลสมัยโบราณ
   ลักษณะทางกายภาพของเมืองโบราณดงละคร
   ที่มาและความหมายของชื่อเมือง

บทที่ 3 ประวัติการศึกษาโบราณคดีเมืองดงละคร
   กรอบและแนวคิดที่ใช้ศึกษา
   การดำเนินงานทางโบราณคดีที่ผ่านมา
      การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
      การดำเนินงานทางโบราณคดี
   สรุปหลักฐานที่พบจากการดำเนินงานโบราณคดีที่ผ่านมา
      หลักฐานประเภทโบราณสถาน
      หลักฐานประเภทโบราณวัตถุ
      สรุปองค์ความรู้จากการดำเนินงานทางโบราณคดีที่ผ่านมา

บทที่ 4 การดำเนินงานทางโบราณคดี
   การสำรวจทางโบราณคดี
      แหล่งโบราณคดีลุ่มน้ำคลองบ้านนา อำเภอบ้านนา
      แหล่งโบราณคดีลุ่มน้ำคลองบางพลี (หรือคลองยาง)
      แหล่งโบราณคดีบริเวณดงละครและเมืองดงละคร
   การขุดค้นทางโบราณคดี
      การขุดค้นพื้นที่นอกเมือง
      การขุดค้นพื้นที่ในเมือง
   การขุดค้นเพื่อศึกษาโบราณสถาน
      สระน้ำทิศเหนือ
      สระน้ำทิศตะวันตก
      การขุดตรวจคูน้ำคันดิน (คูเมืองกำอพงเพชร)

บทที่ 5 วิเคราะห์เปรียบเทียบหลักฐานทางโบราณคดี
   ผลการกำหนดอายุสมัย
      ค่าอายุแบบสัมบูรณ์ (Absolute Dating)
      ผลการกำหนดอายุเชิงเทียบ (Relative Dating)
         การวิเคราะห์โบราณวัตถุประเภทเครื่องปั้นดินเผา
            เศษภาชนะดินเผาเนื้อดินธรรมดา
            เศษภาชนะดินเผาเนื้อแกร่ง
         การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่ทำจากดินเผา
            เบี้ย
            แวดินเผา
            ฝาจุกภาชนะ
            แผ่นดินเผามีลวดลาย
         การวิเคราะห์โบราณวัตถุประเภทลูกปัด
         การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่ทำจากโลหะ
         การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่ทำจากหิน
         การวิเคราะห์โบราณวัตถุประเภทแก้ว
         การวิเคราะห์นิเวศน์วัตถุ (ข้าวสารดำ)
      สรุปผลการกำหนดอายุสมัย
   วิเคราะห์ลักษณะชั้นดินทับถมทางโบราณคดี
   ความสัมพันธ์ของเมืองดงละครกับชุมชนโบราณร่วมภูมิภาคตะวันออก

บทที่ 6 อภิปรายและสรุปผลการศึกษา

รายการอ้างอิง
ภาคผนวก
   ภาคผนวก ก ค่าอายุที่ได้จากวิธีเรดิโอคาร์บอนแบบ AMS หลุมขุดค้น TP3/2555
   ภาคผนวก ข ค่าอายุที่ได้จากวิธีเรดิโอคาร์บอนแบบ AMS หลุมขุดค้น TP1/2555
   ภาคผนวก ค การกำหนดอายุเครื่องเคลือบภาชนะแบบเนื้อแกร่ง
   ภาคผนวก ง ผลการวิเคราะห์ข้าวสารดำ
ประวัติผู้วิจัย

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร และฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (Thai Digital Collection)

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ทวารวดี เมืองดงละคร จังหวัดนครนายก เศษภาชนะดินเผา การกำหนดค่าอายุแบบสัมบูรณ์ การกำหนดค่าอายุเชิงเทียบ การวิเคราะห์ลักษณะชั้นดินทับถมทางโบราณคดี

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น

จำนวนผู้เข้าชม

169

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

22 ม.ค. 2567

พัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองโบราณดงละครจากหลักฐานโบราณคดี

  • พัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองโบราณดงละครจากหลักฐานโบราณคดี
  • ผู้เขียน
    ธงชัย สาโค

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    พัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองโบราณดงละครจากหลักฐานโบราณคดี

    มหาวิทยาลัย
    มหาวิทยาลัยศิลปากร

    คณะ
    บัณฑิตวิทยาลัย

    สาขาวิชา
    โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2556 (2013)

    จำนวนหน้า
    399

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย
    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
    กิตติกรรมประกาศ
    สารบัญตาราง
    สารบัญภาพ
    สารบัญแผนผัง

    บทที่ 1 บทนำ
       ความสำคัญของปัญหา
       ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
       ประโยชน์ของการศึกษา
       ขอบเขตของการศึกษา
       ขั้นตอนการศึกษา
       วิธีการศึกษา

    บทที่ 2 สภาพภูมิศาสตร์และธรณีสัณฐานบริเวณดงละคร
       ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ของเนินดงละคร
       ธรณีสัณฐานของพื้นที่ดงละคร
       ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับแนวชายฝั่งทะเลสมัยโบราณ
       ลักษณะทางกายภาพของเมืองโบราณดงละคร
       ที่มาและความหมายของชื่อเมือง

    บทที่ 3 ประวัติการศึกษาโบราณคดีเมืองดงละคร
       กรอบและแนวคิดที่ใช้ศึกษา
       การดำเนินงานทางโบราณคดีที่ผ่านมา
          การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
          การดำเนินงานทางโบราณคดี
       สรุปหลักฐานที่พบจากการดำเนินงานโบราณคดีที่ผ่านมา
          หลักฐานประเภทโบราณสถาน
          หลักฐานประเภทโบราณวัตถุ
          สรุปองค์ความรู้จากการดำเนินงานทางโบราณคดีที่ผ่านมา

    บทที่ 4 การดำเนินงานทางโบราณคดี
       การสำรวจทางโบราณคดี
          แหล่งโบราณคดีลุ่มน้ำคลองบ้านนา อำเภอบ้านนา
          แหล่งโบราณคดีลุ่มน้ำคลองบางพลี (หรือคลองยาง)
          แหล่งโบราณคดีบริเวณดงละครและเมืองดงละคร
       การขุดค้นทางโบราณคดี
          การขุดค้นพื้นที่นอกเมือง
          การขุดค้นพื้นที่ในเมือง
       การขุดค้นเพื่อศึกษาโบราณสถาน
          สระน้ำทิศเหนือ
          สระน้ำทิศตะวันตก
          การขุดตรวจคูน้ำคันดิน (คูเมืองกำอพงเพชร)

    บทที่ 5 วิเคราะห์เปรียบเทียบหลักฐานทางโบราณคดี
       ผลการกำหนดอายุสมัย
          ค่าอายุแบบสัมบูรณ์ (Absolute Dating)
          ผลการกำหนดอายุเชิงเทียบ (Relative Dating)
             การวิเคราะห์โบราณวัตถุประเภทเครื่องปั้นดินเผา
                เศษภาชนะดินเผาเนื้อดินธรรมดา
                เศษภาชนะดินเผาเนื้อแกร่ง
             การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่ทำจากดินเผา
                เบี้ย
                แวดินเผา
                ฝาจุกภาชนะ
                แผ่นดินเผามีลวดลาย
             การวิเคราะห์โบราณวัตถุประเภทลูกปัด
             การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่ทำจากโลหะ
             การวิเคราะห์โบราณวัตถุที่ทำจากหิน
             การวิเคราะห์โบราณวัตถุประเภทแก้ว
             การวิเคราะห์นิเวศน์วัตถุ (ข้าวสารดำ)
          สรุปผลการกำหนดอายุสมัย
       วิเคราะห์ลักษณะชั้นดินทับถมทางโบราณคดี
       ความสัมพันธ์ของเมืองดงละครกับชุมชนโบราณร่วมภูมิภาคตะวันออก

    บทที่ 6 อภิปรายและสรุปผลการศึกษา

    รายการอ้างอิง
    ภาคผนวก
       ภาคผนวก ก ค่าอายุที่ได้จากวิธีเรดิโอคาร์บอนแบบ AMS หลุมขุดค้น TP3/2555
       ภาคผนวก ข ค่าอายุที่ได้จากวิธีเรดิโอคาร์บอนแบบ AMS หลุมขุดค้น TP1/2555
       ภาคผนวก ค การกำหนดอายุเครื่องเคลือบภาชนะแบบเนื้อแกร่ง
       ภาคผนวก ง ผลการวิเคราะห์ข้าวสารดำ
    ประวัติผู้วิจัย


  • บทคัดย่อ
  • งานวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองดงละคร ตั้งแต่แรกเริ่มจนถึงช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 โดยเน้นการวิเคราะห์ข้อมูลจากการดำเนินงานทางโบราณคดีในช่วงปี พ.ศ. 2551 – 2556 ได้แก่ การขุดค้นทางโบราณคดี 8 หลุม การขุดแต่งสระน้ำประจำทิศ 2 แห่ง การขุดตรวจคูน้ำคันดิน 2 หลุม และการสำรวจทางโบราณคดี ผลการศึกษาสามารถแบ่งลำดับพัฒนาการของเมืองดงละครได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้ 1. เมืองดงละครระยะที่ 1 (ราวครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ 11-13) ตรงกับช่วงต้นสมัยทวารวดี หลักฐานทางโบราณคดีจากหลุมขุดค้นพื้นที่ในเมืองบ่งชี้ว่าก่อนจะมีการสร้างเมืองขึ้นคงมีชุมชนอยู่อาศัยมาก่อนแล้ว ลักษณะเป็นชุมชนขนาดเล็กกระจายกันอยู่อาศัยบริเวณดงละคร และชุมชนเหล่านี้มีการติดต่อกับชุมชนโบราณอื่นในดินแดนประเทศไทย ทั้งภูมิภาคตะวันออก ภาคกลาง และชุมชนโบราณเมืองท่าร่วมสมัยที่รู้จักคุ้นเคยกับวัฒนธรรมอินเดียแล้ว 2. เมืองดงละครระยะที่ 2 (ราวพุทธศตวรรษที่ 14-16) ตรงกับช่วงกลางถึงปลายสมัยทวารวดี หลักฐานทางโบราณคดีจากหลุมขุดค้นพื้นที่ในเมืองแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 14 โดยเป็นผลมาจากการติดต่อค้าขายกับต่างถิ่นที่มีมากขึ้น ซึ่งพบหลักฐานข้าวของเครื่องใช้จากตะวันออกกลาง อินเดีย และจีน โดยคาดว่าเป็นการติดต่อผ่านทางศรีวิชัยและเมืองท่าโบราณร่วมสมัย 3. เมืองดงละครระยะที่ 3 (ราวพุทธศตวรรษที่ 16-18) ตรงกับช่วงอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรโบราณสมัยบาปวนถึงบายน โดยพบหลักฐานจากหลุมขุดค้นพื้นที่นอกเมืองทิศตะวันตกเฉียงใต้ หลุมขุดตรวจคูน้ำคันดิน และสระน้ำประจำทิศเหนือกับทิศตะวันตก และมีการติดต่อสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับเมืองศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี โดยหลังจากสมัยนี้เมืองดงละครคงลดบทบาทความสำคัญลงหลังจากราวพุทธศตวรรษที่ 18-19 ผู้คนคงจะอพยพออกจากบริเวณดงละคร


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร และฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (Thai Digital Collection)

    ลิงก์ที่มา

    ประเด็นสำคัญ
    การตั้งถิ่นฐาน, ประวัติศาสตร์สังคม, เครื่องประดับ, เทคโนโลยี, เศรษฐกิจการค้า,

    ยุคสมัย
    สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น

    คำสำคัญ
    ทวารวดี เมืองดงละคร จังหวัดนครนายก เศษภาชนะดินเผา การกำหนดค่าอายุแบบสัมบูรณ์ การกำหนดค่าอายุเชิงเทียบ การวิเคราะห์ลักษณะชั้นดินทับถมทางโบราณคดี


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 22 ม.ค. 2567
    จำนวนผู้เข้าชม : 169