ผู้เขียน | อนุรักษ์ ดีพิมาย |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | โบราณสถานเขาคลังนอก : ลำดับอายุสมัยและแนวคิดในการก่อสร้าง |
มหาวิทยาลัย | มหาวิทยาลัยศิลปากร |
คณะ | บัณฑิตวิทยาลัย |
สาขาวิชา | โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2557 (2014) |
จำนวนหน้า | 214 |
ภาษา | ภาษาไทย |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
สารบัญแผนผัง
บทที่ 1 บทนํา
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นิยามศัพท์
ข้อจํากัดในการศึกษา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 พัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองศรีเทพโดยสังเขป
ประวัติการค้นพบ
สภาพทั่วไปของเมืองศรีเทพ
พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม
บทที่ 3 การขุดศึกษาโบราณสถานเขาคลังนอกเมื่อปีพ.ศ. 2551
ความเป็นมาของโบราณสถานเขาคลังนอก
ภาพรวมโบราณสถานหลังการขุดแต่ง
เทคนิคการก่อสร้างโบราณสถานเขาคลังนอก
ร่องรอยการใช้พื้นที่สมัยที่ 2
โบราณวัตถุที่พบจากการขุดแต่ง
สรุปผลจากการขุดศึกษาโบราณสถานเขาคลังนอกในเบื้องต้น
บทที่ 4 การขุดศึกษาโบราณสถานบริวารรอบโบราณสถานเขาคลังนอก
แผนการขุดศึกษาเนินโบราณสถาน
การขุดศึกษาเนินโบราณสถาน
โบราณสถานหลังการขุดศึกษา
วิเคราะห์โบราณวัตถุที่พบจากขุดศึกษา
รูปแบบของโบราณสถาน
โครงสร้างของโบราณสถาน
ความสัมพันธ์กับเจดีย์ประธาน
สรุปผลการขุดศึกษาโบราณสถานบริวารรอบโบราณสถานเขาคลังนอก
บทที่ 5 ลําดับสมัยและแนวคิดในการก่อสร้างโบราณสถานเขาคลังนอก .
เกณฑ์ในการจัดจําแนกลําดับสมัยและแนวคิดในการก่อสร้าง
โบราณสถานเขาคลังนอกสมัยที่ 1
โบราณสถานเขาคลังนอกสมัยที่ 2
การศึกษาเปรียบเทียบโบราณสถานเขาคลังนอก
ข้อสรุปของการศึกษาเปรียบเทียบและการกําหนดอายุ
การศึกษาแนวคิดในการก่อสร้างของโบราณสถานเขาคลังนอก
โบราณสถานเขาคลังนอกกับภาพรวมบริบททางวัฒนธรรม
บทที่ 6 สรุปและเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
ข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
สารบัญแผนผัง
บทที่ 1 บทนํา
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
แหล่งข้อมูล
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นิยามศัพท์
ข้อจํากัดในการศึกษา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 พัฒนาการทางวัฒนธรรมของเมืองศรีเทพโดยสังเขป
ประวัติการค้นพบ
สภาพทั่วไปของเมืองศรีเทพ
พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม
บทที่ 3 การขุดศึกษาโบราณสถานเขาคลังนอกเมื่อปีพ.ศ. 2551
ความเป็นมาของโบราณสถานเขาคลังนอก
ภาพรวมโบราณสถานหลังการขุดแต่ง
เทคนิคการก่อสร้างโบราณสถานเขาคลังนอก
ร่องรอยการใช้พื้นที่สมัยที่ 2
โบราณวัตถุที่พบจากการขุดแต่ง
สรุปผลจากการขุดศึกษาโบราณสถานเขาคลังนอกในเบื้องต้น
บทที่ 4 การขุดศึกษาโบราณสถานบริวารรอบโบราณสถานเขาคลังนอก
แผนการขุดศึกษาเนินโบราณสถาน
การขุดศึกษาเนินโบราณสถาน
โบราณสถานหลังการขุดศึกษา
วิเคราะห์โบราณวัตถุที่พบจากขุดศึกษา
รูปแบบของโบราณสถาน
โครงสร้างของโบราณสถาน
ความสัมพันธ์กับเจดีย์ประธาน
สรุปผลการขุดศึกษาโบราณสถานบริวารรอบโบราณสถานเขาคลังนอก
บทที่ 5 ลําดับสมัยและแนวคิดในการก่อสร้างโบราณสถานเขาคลังนอก .
เกณฑ์ในการจัดจําแนกลําดับสมัยและแนวคิดในการก่อสร้าง
โบราณสถานเขาคลังนอกสมัยที่ 1
โบราณสถานเขาคลังนอกสมัยที่ 2
การศึกษาเปรียบเทียบโบราณสถานเขาคลังนอก
ข้อสรุปของการศึกษาเปรียบเทียบและการกําหนดอายุ
การศึกษาแนวคิดในการก่อสร้างของโบราณสถานเขาคลังนอก
โบราณสถานเขาคลังนอกกับภาพรวมบริบททางวัฒนธรรม
บทที่ 6 สรุปและเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
ข้อเสนอแนะ
รายการอ้างอิง
ประวัติผู้วิจัย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะทําการจัดเรียงลําดับสมัยและศึกษาแนวคิดในการก่อสร้างโบราณสถานเขาคลังนอก มหาสถูปแห่งเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากการขุดศึกษาเจดีย์ประธานเมื่อปีพ.ศ. 2551 ร่วมกับข้อมูลใหม่จากขุดการศึกษาเจดีย์บริวารในปีพ.ศ.2557
ผลจากการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้
1. โบราณสถานเขาคลังนอกมีการก่อสร้างในช่วงสมัยที่สําคัญ 2 สมัย คือ 1) สมัยแรกสร้างเจดีย์ประธานและเจดีย์บริวาร อาจสร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 14 – 15 และ 2) สมัยที่มีการซ่อมแปลงให้เจดีย์ประธานหันหน้าไปยังทิศตะวันตก อาจเกิดขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15 – 19 ก่อนที่จะทิ้งร้างไปในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 เช่นเดียวกับเมืองศรีเทพ
2. แนวคิดในการก่อสร้างทั้ง 2 สมัย คือ 1) มีการเลือกที่ตั้งในพื้นที่ที่สามารถสร้างศาสนสถานขนาดใหญ่ได้และมีความสัมพันธ์กับแกนทิศของโบราณสถานอื่นๆ รวมทั้งมีลักษณะมณฑลจักรวาลของพุทธศาสนามหายานปรากฏในแผนผังของเจดีย์ประธานและแผนผังรวม และ2) มีการให้ความสําคัญกับทิศตะวันตกอย่างมาก ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการนับถือพระอมิตาภะและสวรรค์สุขาวดี รวมทั้งเขาถมอรัตน์
3. โบราณสถานเขาคลังนอกอาจเป็นตัวแทนของความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการค้า และศาสนาของเมืองศรีเทพในช่วงพุทธศตวรรษที่ 14 – 15 เนื่องจากเป็นโบราณสถานขนาดใหญ่ที่ ต้องใช้ทรัพยากรในการสร้างสูงและมีความซับซ้อนทางด้านแผนผังมากที่สุดในสมัยทวารวดี