หน้าแรก วิทยานิพนธ์ พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-12

พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-12

พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-12

ผู้เขียน อธิพัฒน์ ไพบูลย์
ชื่อวิทยานิพนธ์ พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-12
มหาวิทยาลัย ศิลปากร
คณะ โบราณคดี
สาขาวิชา โบราณคดี
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
ปี 2564 (2022)
จำนวนหน้า 451
ภาษา ภาษาไทย

สารบัญ

บทคัดย่อภาษาไทย

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

สารบัญ

สารบัญภาพประกอบ

สารบัญตาราง

สารบัญแผนผัง

สารบัญแผนที่

บทที่ 1 บทนำ
- ที่มาและความสำคัญของปัญหา
- ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
- ประโยชน์ของการศึกษา
- ขอบเขตของการศึกษา
- ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
- กรอบแนวคิดและทฤษฎี
- ระยะเวลาของการศึกษา
- แหล่งข้อมูล
- ข้อจำกัดของการศึกษา

 

บทที่ 2 พุทธศาสนาในอนุทวีปอินเดียก่อนพุทธศตวรรษที่ 13
- พุทธศาสนาในอนุทวีป
- พุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ในอินเดีย
  - พุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
  - พุทธศาสนาฝ่ายมหายาน
- พุทธศาสนาในเกาะลังกา สมัยอนุราธปุระ
  - การแตกแยกของสงฆ์ครั้งที่ 1
  - การแตกแยกของสงฆ์ครั้งที่ 2

 

บทที่ 3 องค์ความรู้เรื่องพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- การศึกษาด้านจารึกวิทยา
- การศึกษาทางประวัติศาสตร์ศิลปะ
  - อิทธิพลจากศิลปะอินเดีย
  - ร่องรอยอิทธิพลศิลปะจีน
  - ประวัติศาสตร์ศิลปะและนิกายต่าง ๆ ในพุทธศาสนา
- การศึกษาทางโบราณคดี
  - การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างอินเดียกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  - หลักฐานที่แสดงการติดต่อ
  - เส้นทางการติดต่อ
  - การประดิษฐานพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  - พุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    - ข้อมูลจากเอกสารจีน
    - ข้อมูลจากหลักฐานทางโบราณคดี
- สรุป

 

บทที่ 4 หลักฐานทางโบราณคดีเนื่องในพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 6 - 12
- พื้นที่คาบสมุทรและหมู่เกาะ
  - หลักฐานจารึก
    - จารึกในประเทศมาเลเซีย
    - จารึกในประเทศอินโดนีเซีย
  - หลักฐานประติมากรรม
    - ประติมากรรมในประเทศมาเลเซีย
    - ประติมากรรมในประเทศอินโดนีเซีย
  - พระพิมพ์
  - ภาพเล่าเรื่อง
  - สถาปัตยกรรม
- ประเทศเมียนมา
  - หลักฐานจารึก
  - หลักฐานประติมากรรม
    - พระพุทธรูป
  - พระพิมพ์
  - ภาพเล่าเรื่อง
  - สถาปัตยกรรม
- ประเทศเวียนาม
  - หลักฐานจารึก
  - หลักฐานประติมากรรม
  - พระพิมพ์
  - สถาปัตยกรรม
- ประเทศกัมพูชา
  - หลักฐานจารึก
  - หลักฐานประติมากรรม
- ประเทศไทย
  - หลักฐานจารึก
  - หลักฐานประติมากรรม
  - พระพิมพ์
  - ภาพเล่าเรื่อง
  - สถาปัตยกรรม

 

บทที่ 5 การศึกษาและจัดจำแนกหลักฐานประเภทจารึกและศิลปกรรมทางพุทธศาสนา ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 12 พร้อมทั้งข้อสังเกตบางประการ
- หลักฐานประเภทจารึก
  - แบ่งตามภาษาที่ใช้ในการจารึก
  - แบ่งตามตัวอักษรที่ใช้ในจารึก
  - แบ่งตามประเภทของเนื้อความ
  - แบ่งตามประเภทวัตถุจารึก
  - พิจารณาเรื่องคาถาธัมมจักกัปปวัตตนสูตรและปฏิจจสมุปบาท
  - พิจารณาเรื่อง คาถาเย ธมมา
  - พิจารณากรณีคัมภีร์ธรรมบท
  - ข้อสังเกตเกี่ยวกับจารึกสุไหงมัส 2 และจารึกจาก SB1B
- หลักฐานประเภทงานประติมากรรม (รูปเคารพ)
  - พระพุทธรูป
    - กลุ่มพระพุทธรูปที่แสดงอิทธิพลศิลปะอินเดียสมัยอมราวดี
    - กลุ่มพระพุทธรูปที่แสดงอิทธิพลศิลปะอินเดียสมัยคุปตะและหลังคุปตะ
    - ศิลปะคุปตะ สกุลช่างมถุรา
    - ศิลปะคุปตะ สกุลช่างสารนาถ
    - ศิลปะหลังคุปตะ
    - กลุ่มพระพุทธรูปที่แสดงอิทธิพลศิลปะลังกาสมัยอนุราธปุระ
    - กลุ่มพระพุทธรูปที่แสดงอิทธิพลศิลปะจีน
    - ข้อสังเกตเกี่ยวกับพระพุทธรูปประทับเหนือพนัสบดีสมัยทวารวดี
  - พระโพธิสัตว์
    - ศิลปะปัลลวะ
    - ศิลปะคุปตะ-หลังคุปตะ
    - ศิลปะอนุราธปุระ
    - ศิลปะเขมรสมัยก่อนเมืองพระนคร
    - ข้อสังเกตเกี่ยวกับการนับถือพระโพธิสัตว์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 12
  - พระพิมพ์
    - พระพิมพ์รูปพระพุทธเจ้า
    - พระพิมพ์รูปพระนาคปรก
    - พระพิมพ์รูปพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์
    - พระพิมพ์พระสาวก
    - แผ่นพิมพ์รูปสถูป
  - ธรรมจักร
    - ธรรมจักรที่มีจารึกประกอบ
    - ธรรมจักรที่ไม่มีจารึกประกอบ
    - ข้อสังเกตเกี่ยวกับความสำคัญของธรรมจักรในวัฒนธรรมทวารวดี
  - ภาพเล่าเรื่อง
    - ภาพเล่าเรื่องพุทธประวัติ
    - ภาพเล่าเรื่องชาดก
    - ภาพเล่าเรื่องอื่น ๆ 
      - ภาพพระพุทธเจ้าพร้อมเทพเจ้าฮินดู
      - ภาพพระพุทธเจ้าหรือสถูปเรียงกัน
- หลักฐานประเภทสถาปัตยกรรม
  - การจัดจำแนกแผนผังของพุทธสถาน
    - พุทธสถานในผังกลม
    - พุทธสถานในผังยกเก็จ
    - พุทธสถานในผังแบบโบราณสถาน KKG14 เมืองไบก์ถาโน
  - พุทธสถานกับตำแหน่งของชุมชนหรือเมืองโบราณ
- สรุปผลการจัดจำแนกหลักฐานและข้อสังเกตต่าง ๆ
  - แหล่งที่มาของรูปแบบศิลปะ
  - ค่าอายุสมัยของหลักฐาน
  - การกระจายตัวของหลักฐาน

 

บทที่ 6 พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ที่มาและพัฒนาการของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  - พุทธศาสนาจากอินเดียสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  - อิทธิพลพุทธศาสนาจากเกาะลังกา
- ข้อสังเกตเกี่ยวกับพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  - พุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
  - พุทธศาสนาฝ่ายมหายาน
- พุทธศาสนากับการก่อตัวของรัฐแรกเริ่มในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  - "บุญ แนวคิดใหม่จากพุทธศาสนาสู่รากฐานรัฐในอุษาคเนย์
- บทบาทของพุทธศาสนาด้านการปกครอง
  - พุทธศาสนาและกระบวนการสร้างชนชั้นปกครอง
  - พุทธศาสนากับโครงข่ายการขยายอำนาจทางการเมือง
- บทบาทของพุทธศาสนาในด้านสังคม
  - พระสงฆ์ในเมือง พระสงฆ์ในป่า กับการจัดการสังคมอุษาคเนย์
- บทบาทของพุทธศาสนาในด้านเศรษฐกิจ
  - ภิกษุจีนล่องทะเลและการเกิดขึ้นของรัฐพุทธในสมัยหลังฟูนัน

 

บทที่ 7 สรุปผลและเสนอแนะ

รายการอ้างอิง

ประวัติผู้เขียน

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

บุญ พระพุทธศาสนา พัฒนาการ

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ทวารวดี

จำนวนผู้เข้าชม

674

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

13 พ.ย. 2567

พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-12

  • พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-12
  • ผู้เขียน
    อธิพัฒน์ ไพบูลย์

    ชื่อวิทยานิพนธ์
    พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-12

    มหาวิทยาลัย
    ศิลปากร

    คณะ
    โบราณคดี

    สาขาวิชา
    โบราณคดี

    ระดับการศึกษา
    ปริญญาโท

    ปี
    2564 (2022)

    จำนวนหน้า
    451

    ภาษา
    ภาษาไทย
  • สารบัญ
  • บทคัดย่อภาษาไทย

    บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

    สารบัญ

    สารบัญภาพประกอบ

    สารบัญตาราง

    สารบัญแผนผัง

    สารบัญแผนที่

    บทที่ 1 บทนำ
    - ที่มาและความสำคัญของปัญหา
    - ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
    - ประโยชน์ของการศึกษา
    - ขอบเขตของการศึกษา
    - ขั้นตอนและวิธีการศึกษา
    - กรอบแนวคิดและทฤษฎี
    - ระยะเวลาของการศึกษา
    - แหล่งข้อมูล
    - ข้อจำกัดของการศึกษา

     

    บทที่ 2 พุทธศาสนาในอนุทวีปอินเดียก่อนพุทธศตวรรษที่ 13
    - พุทธศาสนาในอนุทวีป
    - พุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ในอินเดีย
      - พุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
      - พุทธศาสนาฝ่ายมหายาน
    - พุทธศาสนาในเกาะลังกา สมัยอนุราธปุระ
      - การแตกแยกของสงฆ์ครั้งที่ 1
      - การแตกแยกของสงฆ์ครั้งที่ 2

     

    บทที่ 3 องค์ความรู้เรื่องพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    - การศึกษาด้านจารึกวิทยา
    - การศึกษาทางประวัติศาสตร์ศิลปะ
      - อิทธิพลจากศิลปะอินเดีย
      - ร่องรอยอิทธิพลศิลปะจีน
      - ประวัติศาสตร์ศิลปะและนิกายต่าง ๆ ในพุทธศาสนา
    - การศึกษาทางโบราณคดี
      - การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างอินเดียกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      - หลักฐานที่แสดงการติดต่อ
      - เส้นทางการติดต่อ
      - การประดิษฐานพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      - พุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
        - ข้อมูลจากเอกสารจีน
        - ข้อมูลจากหลักฐานทางโบราณคดี
    - สรุป

     

    บทที่ 4 หลักฐานทางโบราณคดีเนื่องในพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 6 - 12
    - พื้นที่คาบสมุทรและหมู่เกาะ
      - หลักฐานจารึก
        - จารึกในประเทศมาเลเซีย
        - จารึกในประเทศอินโดนีเซีย
      - หลักฐานประติมากรรม
        - ประติมากรรมในประเทศมาเลเซีย
        - ประติมากรรมในประเทศอินโดนีเซีย
      - พระพิมพ์
      - ภาพเล่าเรื่อง
      - สถาปัตยกรรม
    - ประเทศเมียนมา
      - หลักฐานจารึก
      - หลักฐานประติมากรรม
        - พระพุทธรูป
      - พระพิมพ์
      - ภาพเล่าเรื่อง
      - สถาปัตยกรรม
    - ประเทศเวียนาม
      - หลักฐานจารึก
      - หลักฐานประติมากรรม
      - พระพิมพ์
      - สถาปัตยกรรม
    - ประเทศกัมพูชา
      - หลักฐานจารึก
      - หลักฐานประติมากรรม
    - ประเทศไทย
      - หลักฐานจารึก
      - หลักฐานประติมากรรม
      - พระพิมพ์
      - ภาพเล่าเรื่อง
      - สถาปัตยกรรม

     

    บทที่ 5 การศึกษาและจัดจำแนกหลักฐานประเภทจารึกและศิลปกรรมทางพุทธศาสนา ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 12 พร้อมทั้งข้อสังเกตบางประการ
    - หลักฐานประเภทจารึก
      - แบ่งตามภาษาที่ใช้ในการจารึก
      - แบ่งตามตัวอักษรที่ใช้ในจารึก
      - แบ่งตามประเภทของเนื้อความ
      - แบ่งตามประเภทวัตถุจารึก
      - พิจารณาเรื่องคาถาธัมมจักกัปปวัตตนสูตรและปฏิจจสมุปบาท
      - พิจารณาเรื่อง คาถาเย ธมมา
      - พิจารณากรณีคัมภีร์ธรรมบท
      - ข้อสังเกตเกี่ยวกับจารึกสุไหงมัส 2 และจารึกจาก SB1B
    - หลักฐานประเภทงานประติมากรรม (รูปเคารพ)
      - พระพุทธรูป
        - กลุ่มพระพุทธรูปที่แสดงอิทธิพลศิลปะอินเดียสมัยอมราวดี
        - กลุ่มพระพุทธรูปที่แสดงอิทธิพลศิลปะอินเดียสมัยคุปตะและหลังคุปตะ
        - ศิลปะคุปตะ สกุลช่างมถุรา
        - ศิลปะคุปตะ สกุลช่างสารนาถ
        - ศิลปะหลังคุปตะ
        - กลุ่มพระพุทธรูปที่แสดงอิทธิพลศิลปะลังกาสมัยอนุราธปุระ
        - กลุ่มพระพุทธรูปที่แสดงอิทธิพลศิลปะจีน
        - ข้อสังเกตเกี่ยวกับพระพุทธรูปประทับเหนือพนัสบดีสมัยทวารวดี
      - พระโพธิสัตว์
        - ศิลปะปัลลวะ
        - ศิลปะคุปตะ-หลังคุปตะ
        - ศิลปะอนุราธปุระ
        - ศิลปะเขมรสมัยก่อนเมืองพระนคร
        - ข้อสังเกตเกี่ยวกับการนับถือพระโพธิสัตว์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 12
      - พระพิมพ์
        - พระพิมพ์รูปพระพุทธเจ้า
        - พระพิมพ์รูปพระนาคปรก
        - พระพิมพ์รูปพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์
        - พระพิมพ์พระสาวก
        - แผ่นพิมพ์รูปสถูป
      - ธรรมจักร
        - ธรรมจักรที่มีจารึกประกอบ
        - ธรรมจักรที่ไม่มีจารึกประกอบ
        - ข้อสังเกตเกี่ยวกับความสำคัญของธรรมจักรในวัฒนธรรมทวารวดี
      - ภาพเล่าเรื่อง
        - ภาพเล่าเรื่องพุทธประวัติ
        - ภาพเล่าเรื่องชาดก
        - ภาพเล่าเรื่องอื่น ๆ 
          - ภาพพระพุทธเจ้าพร้อมเทพเจ้าฮินดู
          - ภาพพระพุทธเจ้าหรือสถูปเรียงกัน
    - หลักฐานประเภทสถาปัตยกรรม
      - การจัดจำแนกแผนผังของพุทธสถาน
        - พุทธสถานในผังกลม
        - พุทธสถานในผังยกเก็จ
        - พุทธสถานในผังแบบโบราณสถาน KKG14 เมืองไบก์ถาโน
      - พุทธสถานกับตำแหน่งของชุมชนหรือเมืองโบราณ
    - สรุปผลการจัดจำแนกหลักฐานและข้อสังเกตต่าง ๆ
      - แหล่งที่มาของรูปแบบศิลปะ
      - ค่าอายุสมัยของหลักฐาน
      - การกระจายตัวของหลักฐาน

     

    บทที่ 6 พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    - ที่มาและพัฒนาการของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      - พุทธศาสนาจากอินเดียสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      - อิทธิพลพุทธศาสนาจากเกาะลังกา
    - ข้อสังเกตเกี่ยวกับพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      - พุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
      - พุทธศาสนาฝ่ายมหายาน
    - พุทธศาสนากับการก่อตัวของรัฐแรกเริ่มในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      - "บุญ แนวคิดใหม่จากพุทธศาสนาสู่รากฐานรัฐในอุษาคเนย์
    - บทบาทของพุทธศาสนาด้านการปกครอง
      - พุทธศาสนาและกระบวนการสร้างชนชั้นปกครอง
      - พุทธศาสนากับโครงข่ายการขยายอำนาจทางการเมือง
    - บทบาทของพุทธศาสนาในด้านสังคม
      - พระสงฆ์ในเมือง พระสงฆ์ในป่า กับการจัดการสังคมอุษาคเนย์
    - บทบาทของพุทธศาสนาในด้านเศรษฐกิจ
      - ภิกษุจีนล่องทะเลและการเกิดขึ้นของรัฐพุทธในสมัยหลังฟูนัน

     

    บทที่ 7 สรุปผลและเสนอแนะ

    รายการอ้างอิง

    ประวัติผู้เขียน


  • บทคัดย่อ
  • การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาพัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาที่มีต่อรัฐแรกเริ่มในเอเชีย-ตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 6-12 ผ่านหลักฐานทางโบราณคดีและแนวคิดภารตวิภัฒน์ (Indianization) พบว่า วัฒนธรรมอินเดียทั้งพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์-ฮินดูได้เข้ามายังเอเชีย-ตะวันออกเฉียงใต้พร้อมกับการเติบโตของการค้าข้ามคาบสมุทรของพ่อค้าชนชาติต่าง ๆ เช่น ชาวอินเดียและจีน ทั้งนี้พุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มิได้มีที่มาจากที่ใดที่หนึ่งเป็นการเฉพาะ แต่มีที่มาจากหลายภูมิภาคของอินเดีย จำแนกได้ 3 แหล่งที่มาและ 3 ช่วงเวลา ดังนี้ 1) อินเดียภาคใต้ ภายใต้อิทธิพลศิลปะอมราวดี อายุประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 10 ถึงพุทธศตวรรษที่ 11 2) อินเดียภาคเหนือ ภายใต้อิทธิพลศิลปะคุปตะ อายุประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 11 ถึงพุทธศตวรรษที่ 12 3) อินเดียภาคตะวันตก ภายใต้อิทธิพลศิลปะหลังคุปตะ อายุระหว่างราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 การมีที่มาจากหลายภูมิภาคของอินเดีย ทำให้พุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายตามไปด้วย ดังปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีที่หลากหลายและข้อความในเอกสารจีนที่อ้างถึงพุทธศาสนา ปรากฏอยู่ร่วมกันมากกว่าหนึ่งนิกายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพุทธศาสนาจึงได้เข้ามาตั้งมั่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และส่งอิทธิพลต่อสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนเกิดการนำชุดความคิดใหม่ เช่น ระบบศีลธรรม จักรวาลวิทยาแบบพุทธศาสนา รวมทั้งรูปแบบการเมืองการปกครอง มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับสังคมดั้งเดิม ท้ายที่สุดจึงเกิดการยกระดับสภาพสังคมเป็นสังคมระดับรัฐ


    ห้องสมุดแนะนำ
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา
    -

    ประเด็นสำคัญ
    การเมือง, ประวัติศาสตร์สังคม, ศาสนา, ศิลปะ, เศรษฐกิจการค้า,

    ยุคสมัย
    สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ทวารวดี

    คำสำคัญ
    บุญ พระพุทธศาสนา พัฒนาการ


    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 10 ก.พ. 2566
    จำนวนผู้เข้าชม : 674