ผู้เขียน | ภีร์ เวณุนันทน์ |
ชื่อวิทยานิพนธ์ | การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบเครื่องมือที่ทำด้วยสำริดและเหล็กยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในประเทศไทยและประเทศเวียดนาม |
มหาวิทยาลัย | ศิลปากร |
คณะ | โบราณคดี |
สาขาวิชา | โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ |
ระดับการศึกษา | ปริญญาโท |
ปี | 2553 (2010) |
จำนวนหน้า | 701 |
ภาษา | ภาษาไทย |
ที่มา | ลิงก์ที่มา |
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนำ
- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
- วัตถุประสงค์ของการศึกษา
- ขอบเขตของการศึกษา
- ขั้นตอนการศึกษา
บทที่ 2 ประวัติการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบเครื่องมือสำริด และเหล็กที่พบในประเทศไทยและประเทศเวียดนาม
- งานศึกษาเกี่ยวข้องกับการศึกษาเปรียบเทียบงานโลหกรรมสำริด และเหล็ก
- งานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย
- งานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับประเทศเวียดนาม
- งานศึกษาที่เป็นการเปรียบเทียบระหว่างประเทศ และประเทศเวียดนาม
- ลำดับงานศึกษาเปรียบเทียบเครื่องมือสำริด และเหล็กในประเทศไทยและประเทศเวียดนาม
- ประมวลสถานภาพการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบเครื่องมือสำริดและเหล็ก
- ข้อจำกัดของการศึกษาจัดจำแนกประเภท หรือรูปแบบย่อย และการเปรียบเทียบรูปแบบเครื่องมือโลหะ
บทที่ 3 แนวคิดของการศึกษา และวิธีการศึกษา
- แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเปรียบเทียบโบราณวัตถุประเภทโลหะ
- การจัดจำแนก และจัดกลุ่มรูปแบบของโบราณวัตถุ
- การศึกษาเปรียบเทียบโบราณวัตถุ
- วิธีการศึกษา และขั้นตอนการศึกษา
- การคัดเลือกตัวอย่างของเครื่องมือสำริด และเหล็กที่ใช้ในการศึกษา
- ข้อกำหนดทางพื้นที่
- ข้อกำหนดทางด้านเวลา
- ข้อกำหนดทางด้านประเภทของเครื่องมือโลหะ
- การจัดกลุ่มเครื่องมือสำหรับใช้เป็นแนวทางในการเปรียบเทียบ
- การคัดเลือกตัวอย่าง
บทที่ 4 เครื่องมือสำริด และเหล็กยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่พบในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม
- เครื่องมือสำริด และเหล็กที่ใช้ในการศึกษา
- ประเทศไทย
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ภาคกลาง
- ภาคตะวันตก
- ประเทศเวียดนาม
- ภาคเหนือ
- ภาคกลาง
- ภาคใต้
บทที่ 5 การเปรียบเทียบเครื่องมือสำริด และเหล็กยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่พบในประเทศไทยและประเทศเวียดนาม
- การจัดกลุ่ม และแบบย่อยเครื่องมือสำริด และเหล็กที่พบในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม
- กลุ่มของเครื่องมือ
- การจัดกลุ่มเครื่องมือตามพื้นที่ศึกษา
- ประเทศไทย
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- ภาคกลาง
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- ภาคตะวันตก
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- ประเทศเวียดนาม
- ภาคเหนือ
- กลุ่มวัฒนธรรมด่งเกา สมัยสำริดตอนกลาง
- กลุ่มวัฒนธรรมโก่มุน สมัยสำริดตอนปลาย
- กลุ่มวัฒนธรรมด่งเซิน สมัยเหล็ก
- ภาคกลาง
- ภาคเหนือ
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- สรุปกลุ่ม และแบบย่อยของเครื่องมือที่พบในแต่ละช่วงเวลา
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- การเปรียบเทียบการตกแต่งที่ปรากฏบนเครื่องมือสำริด และเหล็ก สมัยสำริด และสมัยเหล็กที่พบในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม
- การเปรียบเทียบแบบย่อยของเครื่องมือประเภทเดียวกันที่พบในประเทศไทย
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- การเปรียบเทียบแบบย่อยของเครื่องมือประเภทเดียวกันที่พบในประเทศเวียดนาม
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- การเปรียบเทียบแบบย่อยของเครื่องมือประเภทเดียวกันที่พบในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
บทที่ 6 สรุป
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
- ภาคผนวก ก การเรียกชื่อเครื่องมือเปรียบเทียบกับเครื่องมือปัจจุบัน
- ภาคผนวก ข ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีที่ใช้ในการศึกษา
ประวัติผู้วิจัย
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
บทที่ 1 บทนำ
- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
- วัตถุประสงค์ของการศึกษา
- ขอบเขตของการศึกษา
- ขั้นตอนการศึกษา
บทที่ 2 ประวัติการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบเครื่องมือสำริด และเหล็กที่พบในประเทศไทยและประเทศเวียดนาม
- งานศึกษาเกี่ยวข้องกับการศึกษาเปรียบเทียบงานโลหกรรมสำริด และเหล็ก
- งานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย
- งานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับประเทศเวียดนาม
- งานศึกษาที่เป็นการเปรียบเทียบระหว่างประเทศ และประเทศเวียดนาม
- ลำดับงานศึกษาเปรียบเทียบเครื่องมือสำริด และเหล็กในประเทศไทยและประเทศเวียดนาม
- ประมวลสถานภาพการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบเครื่องมือสำริดและเหล็ก
- ข้อจำกัดของการศึกษาจัดจำแนกประเภท หรือรูปแบบย่อย และการเปรียบเทียบรูปแบบเครื่องมือโลหะ
บทที่ 3 แนวคิดของการศึกษา และวิธีการศึกษา
- แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเปรียบเทียบโบราณวัตถุประเภทโลหะ
- การจัดจำแนก และจัดกลุ่มรูปแบบของโบราณวัตถุ
- การศึกษาเปรียบเทียบโบราณวัตถุ
- วิธีการศึกษา และขั้นตอนการศึกษา
- การคัดเลือกตัวอย่างของเครื่องมือสำริด และเหล็กที่ใช้ในการศึกษา
- ข้อกำหนดทางพื้นที่
- ข้อกำหนดทางด้านเวลา
- ข้อกำหนดทางด้านประเภทของเครื่องมือโลหะ
- การจัดกลุ่มเครื่องมือสำหรับใช้เป็นแนวทางในการเปรียบเทียบ
- การคัดเลือกตัวอย่าง
บทที่ 4 เครื่องมือสำริด และเหล็กยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่พบในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม
- เครื่องมือสำริด และเหล็กที่ใช้ในการศึกษา
- ประเทศไทย
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ภาคกลาง
- ภาคตะวันตก
- ประเทศเวียดนาม
- ภาคเหนือ
- ภาคกลาง
- ภาคใต้
บทที่ 5 การเปรียบเทียบเครื่องมือสำริด และเหล็กยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่พบในประเทศไทยและประเทศเวียดนาม
- การจัดกลุ่ม และแบบย่อยเครื่องมือสำริด และเหล็กที่พบในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม
- กลุ่มของเครื่องมือ
- การจัดกลุ่มเครื่องมือตามพื้นที่ศึกษา
- ประเทศไทย
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- ภาคกลาง
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- ภาคตะวันตก
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- ประเทศเวียดนาม
- ภาคเหนือ
- กลุ่มวัฒนธรรมด่งเกา สมัยสำริดตอนกลาง
- กลุ่มวัฒนธรรมโก่มุน สมัยสำริดตอนปลาย
- กลุ่มวัฒนธรรมด่งเซิน สมัยเหล็ก
- ภาคกลาง
- ภาคเหนือ
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- สรุปกลุ่ม และแบบย่อยของเครื่องมือที่พบในแต่ละช่วงเวลา
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- การเปรียบเทียบการตกแต่งที่ปรากฏบนเครื่องมือสำริด และเหล็ก สมัยสำริด และสมัยเหล็กที่พบในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม
- การเปรียบเทียบแบบย่อยของเครื่องมือประเภทเดียวกันที่พบในประเทศไทย
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- การเปรียบเทียบแบบย่อยของเครื่องมือประเภทเดียวกันที่พบในประเทศเวียดนาม
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
- การเปรียบเทียบแบบย่อยของเครื่องมือประเภทเดียวกันที่พบในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม
- สมัยสำริด
- สมัยเหล็ก
บทที่ 6 สรุป
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
- ภาคผนวก ก การเรียกชื่อเครื่องมือเปรียบเทียบกับเครื่องมือปัจจุบัน
- ภาคผนวก ข ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีที่ใช้ในการศึกษา
ประวัติผู้วิจัย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบรูปทรง และรูปแบบของเครื่องมือสำริด และเหล็กยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่พบในประเทศไทยและประเทศเวียดนาม พร้อมทั้งเสนอคำอธิบายสาเหตุที่ทำให้มีความคล้ายคลึง หรือความแตกต่าง
ผลของการศึกษาพบว่าเครื่องมือสำริดและเหล็กที่พบในทั้งสองมีทั้งหมด 43 รูปทรงย่อย และจำแนกใหม่ตามลักษณะพื้นที่ใช้งานของเครื่องมือได้เป็น 4 กลุ่มคือ 1.เครื่องมือที่มีคมใช้งานกว้าง 2.เครื่องมือที่มีปลายแหลม 3.เครื่องมือที่มีปลายแหลม และคมใช้งานยาว 4.กลุ่มของเครื่องมือที่ไม่มีปลายแหลม หรือคมใช้งานยาว
การเปรียบเทียบพบว่าในประเทศเวียดนามมีเครื่องมือสำริดสมัยสำริดและเครื่องมือสำริดสมัยเหล็กหลายหลายรูปทรงย่อยมากกว่าของประเทศไทย ในขณะที่เครื่องมือเหล็กของประเทศไทยมีประเภท และแบบย่อยมากกว่าของประเทศเวียดนาม และยังพบว่าเครื่องมือบางแบบย่อยเป้นแบบเฉพาะของแต่ละพื้นที่ หรือพบเฉพาะในประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น ในขณะที่บางแบบย่อยมีความคล้ายคลึงกัน ทั้งนี้ความคล้ายคลึงหรือแตกต่างอาจเกิดจากการติดต่อ หรือการสร้างสรรค์เฉพาะกลุ่ม