หน้าแรก ภาพถ่าย พระพิมพ์ดินเผา พุทธศตวรรษที่ 17-18

พระพิมพ์ดินเผา พุทธศตวรรษที่ 17-18

พระพิมพ์ดินเผา พุทธศตวรรษที่ 17-18

สถานที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
ยุคสมัย หริภุญไชย
ผู้ถ่ายภาพ ปรางค์ทิพย์ พงศ์เจตน์พงศ์ หน้า
ลิขสิทธิ์ภาพ ปรางค์ทิพย์ พงศ์เจตน์พงศ์
วันที่ถ่ายภาพ 2/3/2024
ลิงก์ ดาวน์โหลดภาพนี้
คำอธิบาย

พระพิมพ์ดินเผา

ศิลปะหริภุญไชย พุทธศตวรรษที่ 17-18
พบที่กู่แดง เดิมอยู่ที่วัดช้าง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน พระภิกษุบุญทึบ พรหมเสโน วัดจามเทวี อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน มอบให้เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2476

พระพิมพ์ดินเผาทรงสามเหลี่ยม แสดงรูปพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่ประทับนั่งอยู่บนฐานบัวหงายภายในซุ้มเรือนแก้วอยู่ตรงกลางภาพ และรายล้อมไปด้วยพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดเล็ก จำนวน 9 องค์     ซึ่งพระพิมพ์ลักษณะนี้บางครั้งก็เรียกว่า พระสิบ ตามจำนวน พระพุทธรูปที่ปรากฏอยู่ในภาพ สำหรับคติการสร้างพระพิมพ์มีความเกี่ยวข้องกับการรับเอา พระพุทธศาสนาจากทางภาคกลางเข้ามายังดินแดนในแคว้นหริภุญไชยและก่อเกิดเป็นวัฒนธรรม ในการสร้างพระพิมพ์เป็นจำนวนมาก

ดาวน์โหลด (ครั้ง)

จำนวนผู้เข้าชม

118

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

6 มี.ค. 2567

ภาพถ่าย

พระพิมพ์ดินเผา พุทธศตวรรษที่ 17-18
ดาวน์โหลดภาพนี้
สถานที่ :
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ยุคสมัย :
หริภุญไชย

ผู้ถ่ายภาพ :
ปรางค์ทิพย์ พงศ์เจตน์พงศ์

ลิขสิทธิ์ภาพ :
ปรางค์ทิพย์ พงศ์เจตน์พงศ์

วัน/เดือน/ปีที่ถ่ายภาพ :
2/3/2024

คำอธิบาย

พระพิมพ์ดินเผา

ศิลปะหริภุญไชย พุทธศตวรรษที่ 17-18
พบที่กู่แดง เดิมอยู่ที่วัดช้าง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน พระภิกษุบุญทึบ พรหมเสโน วัดจามเทวี อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน มอบให้เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2476

พระพิมพ์ดินเผาทรงสามเหลี่ยม แสดงรูปพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่ประทับนั่งอยู่บนฐานบัวหงายภายในซุ้มเรือนแก้วอยู่ตรงกลางภาพ และรายล้อมไปด้วยพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดเล็ก จำนวน 9 องค์     ซึ่งพระพิมพ์ลักษณะนี้บางครั้งก็เรียกว่า พระสิบ ตามจำนวน พระพุทธรูปที่ปรากฏอยู่ในภาพ สำหรับคติการสร้างพระพิมพ์มีความเกี่ยวข้องกับการรับเอา พระพุทธศาสนาจากทางภาคกลางเข้ามายังดินแดนในแคว้นหริภุญไชยและก่อเกิดเป็นวัฒนธรรม ในการสร้างพระพิมพ์เป็นจำนวนมาก


วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 6 มี.ค. 2567
จำนวนผู้เข้าชม : 118
จำนวนดาวน์โหลดภาพ :