หน้าแรก นิทรรศการและกิจกรรม การผลิตลูกปัดหินโบราณ

การผลิตลูกปัดหินโบราณ

การผลิตลูกปัดหินโบราณ

เผยแพร่เมื่อ 8 ก.ค. 2567
พิมพ์

โดย โครงการจัดตั้งกลุ่มวิจัย “เส้นทางการค้าและมรดกวัฒนธรรม” (Trade Routes and Cultural Heritage) ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมการวิจัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

175

คำอธิบาย

วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคมนี้ เวลา 10.00-16.00 ขอเชิญผู้สนใจลงทะเบียนเข้ารับฟังการบรรยายและการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การผลิตลูกปัดหินโบราณ" โดย Professor Jonathan Mark Kenoyer (Department of Anthropology, University of Wisconsin-Madison) ณ ห้องปฏิบัติการทางวัตถุวัฒนธรรม #tusocanthmatlab อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ​ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต *รับจำนวนจำกัดเพียง 15 คน*
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและแจ้งความประสงค์ลงทะเบียนได้ทางอีเมล ตามที่ระบุในโปสเตอร์
 
กิจกรรมครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการจัดตั้งกลุ่มวิจัยโดยความสนับสนุนของกองทุนวิจัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา: “เส้นทางการค้าและมรดกวัฒนธรรม” (Trade Routes and Cultural Heritage) โดย ผศ. ดร. วรรณพร เรียนแจ้ง โดยได้รับความสนับสนุนจาก Fulbright Specialist Program
โครงการจัดตั้งกลุ่มวิจัย “เส้นทางการค้าและมรดกวัฒนธรรม” (Trade Routes and Cultural Heritage) ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมการวิจัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
 
โดยความร่วมมือกับเครือข่ายวิชาการ ดังต่อไปนี้:-
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อการวิจัยขั้นสูง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
Department of Anthropology, University of Wisconsin-Madison

การจัดแสดง

สถานที่ : อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ​ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
วันที่ : 11 ก.ค. 2567 ถึง 11 ก.ค. 2567

โปสเตอร์

คำอธิบาย

วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคมนี้ เวลา 10.00-16.00 ขอเชิญผู้สนใจลงทะเบียนเข้ารับฟังการบรรยายและการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การผลิตลูกปัดหินโบราณ" โดย Professor Jonathan Mark Kenoyer (Department of Anthropology, University of Wisconsin-Madison) ณ ห้องปฏิบัติการทางวัตถุวัฒนธรรม #tusocanthmatlab อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ​ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต *รับจำนวนจำกัดเพียง 15 คน*
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและแจ้งความประสงค์ลงทะเบียนได้ทางอีเมล ตามที่ระบุในโปสเตอร์
 
กิจกรรมครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการจัดตั้งกลุ่มวิจัยโดยความสนับสนุนของกองทุนวิจัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา: “เส้นทางการค้าและมรดกวัฒนธรรม” (Trade Routes and Cultural Heritage) โดย ผศ. ดร. วรรณพร เรียนแจ้ง โดยได้รับความสนับสนุนจาก Fulbright Specialist Program
โครงการจัดตั้งกลุ่มวิจัย “เส้นทางการค้าและมรดกวัฒนธรรม” (Trade Routes and Cultural Heritage) ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมการวิจัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
 
โดยความร่วมมือกับเครือข่ายวิชาการ ดังต่อไปนี้:-
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อการวิจัยขั้นสูง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
Department of Anthropology, University of Wisconsin-Madison

การจัดแสดง

สถานที่ : อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ​ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
วันที่ : 11 ก.ค. 2567 ถึง 11 ก.ค. 2567

โปสเตอร์

เรื่องแนะนำ

จำนวนผู้เข้าชม

175

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

8 ก.ค. 2567