หน้าแรก หนังสือ ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร

ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร

ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร

ชื่อผู้แต่ง ศักดิ์ชัย สายสิงห์
ประเภท เอกสารวิชาการ
ประเด็นสำคัญ ศิลปะ เทคโนโลยี
จำนวนหน้า 307 หน้า
ภาษา ภาษาไทย
ปี พ.ศ. 2559
ปี ค.ศ. 2016
สำนักพิมพ์ มติชน
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ

สารบัญ

คำนำ

เกริ่นนำ

1.ศิลปะลพบุรี (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19)

 -สถาปัตยกรรม: กรศึกษาปรางค์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี

 -แผนผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี

 -แผนผังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ต้นแบบของแผนผังวัดในสมัยอยุธยาตอนต้น

 -พระปรางค์ 3 หลัง กับการสืบทอดรูปแบบจากวัฒนธรรมเขมรและถ่ายทอดมายังสมัยอยุธยาตอนต้น

 -พระปรางค์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี: การสืบทอดปราสาทแบบเขมร และต้นแบบของเจดีย์ทรงปรางค์ในสมัยอยุธยาตอนต้น

 -ลวดลายประดับปรางค์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ลักษณะลวดลายประดับปรางค์ที่ใกล้เคียงกับต้นแบบปราสาทขอมมากที่สุด

 -บทสรุปในการกำหนดอายุปรางค์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ 

 -ปรางค์หมายเลช 16ค. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ต้นแบบของปรางค์สมัยลพบุรี ที่เมืองลพบุรี ที่บังคงแบบแผนครบถ้วนสมบูรณ์

 -เจดีย์ทรงปรางค์ วัดนครโกษา หนึ่งในสามของปรางค์ที่จัดอยู่ในสมัยลพบุรี

 -พระพุทธรูปสมัยลพบุรี (กลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19)

 -ประเด็นปัญหาและข้อคิดเห็นของกลุ่มพระพุทธรูปทวารวดี (รุ่นที่ 3) หรือพระพุทธรูปแบบอู่ทองรุ่นที่ 1 คือพระพุทธรูปสมัยลพบุรีที่มีอิทธิพลศิลปะเขมร

 -ลักษณะสำคัญที่จัดเป็นพระพุทธรูปลพบุรี

 -การแบ่งกลุ่มพระพุทธรูปสมัยลพบุรี

2.ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนต้น (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 20)

 -สถาปัตยกรรม

 -เจดีย์รายวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี

 -รูปแบบศิลปกรรมที่แสดงให้เห็นถึงงานศิลปะในสมัยอยุธยาตอนต้น ช่วงพุทธศตวรรษที่ 20

 -เจดีย์ทรงปรางค์ยอดกลีบมะเฟือง: ที่มาของรูปแบบและการกำหนดอายุ

 -วิเคราะห์ที่มาของเจดีย์ทรงปรางค์ยอดกลีบมะเฟือง

 -แนวทางการกำหนดอายุ

 -เจดีย์ทรงระฆังที่มีส่วนรองรับองค์ระฆังในผังแปดเหลี่ยม

 -สรุปผลการศึกษาหลักฐานงานศิลปกรรมในสมัยอยุธยาตอนต้นที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ

 -หลักฐานศิลปกรรมในสมัยอยุธยาตอนต้นเมืองลพบุรีในแหล่งอื่นๆ

 -ประติมากรรม

 -พระพุทธรูปหินทรายและรูปปั้น

 -งานประติมากรรมปูนปั้น (หมายถึงปูนปั้นที่เคยประดับศาสนสถาน)

 -ความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์กับหลักฐานศิลปกรรม

3.ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนกลาง (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 22)

 -หลักฐานทางศิลปกรรมที่วัดมหาธาตุ ลพบุรี

 -ศิลปะวัดไลย์ พระวิหาร พระพุทธรูป และงานปูนปั้นที่บ่กบอกถึงงานศิลปกรรมในสมัยอยุธยาตอนกลางที่สมบูรณ์และสวยงามที่สุดแห่งหนึ่งของงานช่างไทย

4.ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนปลาย (ปลายพุทธศตวรรษที่ 22 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23)

 -ศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลายที่เมืองลพบุรี: กรณีศึกษาศิลปกรรมที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี

 -วิเคราะห์แผนผังที่แสดงหลักฐานให้เห็นว่าเป็นงานศิลปกรรมในสมัยอยุธยาตอนปลาย

 -วิเคราะห์รูปแบบเจดีย์ทรงปรางค์ เจดีย์ย่อมุม(เพิ่มมุม) และเจดีย์ทรงเครื่อง

 -งานปูนปั้นประดับปรางค์ประธานที่เป็นงานซ่อมแซมในสมัยอยุธยาตอนปลาย

 -อาคารหลังคาคลุมในสมัยอยุธยาตอนปลาย

 -งานประติมากรรม

 -งานประณีตนศิลป์

 -บทวิเคราะห์ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างหลักฐานทางศิลปกรรมกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยาตอนปลาย

5.บทสรุป พัฒนาการของเมืองลพบุรีมองผ่านงานศิลปกรรม ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23 

 -สมัยก่อนอยุธยาหรือสมัยลพบุรี (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 18 จนมาถึงการสถาปนากรุงศรีอยุธยา ในปีพ.ศ.1893)

 -สมัยอยุธยาตอนต้น (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 20)

 -สมัยอยุธยาตอนกลาง (ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21 - 22)

 -สมัยอยุธยาตอนปลาย (ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 22 - 23)

 -แนวความคิดเรื่องศิลปะสมัยลพบุรี (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19)

บรรณานุกรม

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ลพบุรี ศิลปะลพบุรี พระศรีรัตนมหาธาตุลพบุรี วัดนครโกษา ปรางค์สามยอด ปรางค์แขก ประวัติศาสตร์ศิลปะ

ยุคสมัย

อยุธยา เขมร สมัยหลังเมืองพระนคร

จำนวนผู้เข้าชม

713

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

2 พ.ย. 2565