ชื่อผู้แต่ง | ศักดิ์ชัย สายสิงห์ |
ประเภท | เอกสารวิชาการ |
ประเด็นสำคัญ | ศาสนา ศิลปะ เครื่องประดับ |
จำนวนหน้า | 463 หน้า |
ภาษา | ภาษาไทย |
ปี พ.ศ. | 2547 |
ปี ค.ศ. | 2014 |
สำนักพิมพ์ | เมืองโบราณ |
สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ |
คำนำสำนักพิมพ์
คำนำผู้เขียน
คำนิยม
กล่าวนำ ความเป็นมาของคำว่า “ทวารวดี”
การศึดษาค้นคว้าเกี่ยวกับอายธรรมทวารวดี
ส่วนที่ 1 : ก่อนทวารวดีและอารยธรรมทวารวดี
บทที่ 1 ยุคหัวเลี้ยวหัวต่อทางประวัติศาสตร์
- สังคมและวัฒนธรรมก่อนพุทธศตวรรษที่ 6
- พัฒนาการของชุมชนจากยุคก่อนประวัติศาสตร์สู่ยุคประวัติศาสตร์
- หลักฐานทางศิลปกรรมที่แสดงให้เห็นถึงการรับอารยธรรม หรือการนำเข้าวัตถุ
- หลักฐานทางศิลปกรรมที่แสดงให้เห็นถึงการรับอารยธรรมจากภายนอกระหว่างพุทธศตวรรษที่ 6 – 9
- พัฒนาการของชุมชนสมัยก่อนทวารวดีระหว่างพุทธศตวรรษที่ 9 – 11 และข้อเสนอเรื่องอาณาจักรฟูนัน
- ศิลปกรรมที่นำเข้าจากภายนอกระหว่างพุทธศตวรรษที่ 9 – 11
- รูปเคารพเนื่องในพุทธศาสนาแบบเถรวาท
- รูปเคารพเนื่องในพุทธศาสนาแบบมหายาน
- รูปเคารพเนื่องในศาสนาพราหมณ์
- ศิลปกรรมที่สร้างขึ้นในดินแดนไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 9 – 11
บทที่ 2 อารยธรรมทวารวดี
- ปัญญาเรื่องศูนย์กลางของอาณาจักร
- ประวัติศาสตร์ “ทวารวดี” จากจารึกและเอกสารโบราณ
- หลักฐานจากจดหมายเหตุจีน
- หลักฐานจากจารึก
- ใครเป็นเจ้าของวัฒนธรรมทวารวดี
- สังเขปเกี่ยวกับเมืองโบราณสมัยทวารวดี
- สภาพโดยทั่วไปของเมืองโบราณสมัยทวารวดี
- รูปแบบของเมืองโบราณ
- คติความเชื่อ ศาสนา และศิลปกรรม
- ศาสนาพุทธเถรวาท
- ศาสนาพุทธมหายาน
- ศาสนาพราหมณ์
- คติความเชื่ออื่น ๆ
- การแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดี
- ภาคกลาง
- ภาคตะวันออก
- ภาคอีสาน
- ภาคเหนือ
- ภาคใต้
ส่วนที่ 2 ศิลปกรรมสมัยทวารวดี
บทที่ 3 สถาปัตยกรรม
- ประเภทของศาสนสถาน
- ศาสนสถานกลางแจ้ง
- ศาสนสถานที่อยู่ในถ้ำ
- แผนผังและรูปทรงสันนิษฐานของสถาปัตยกรรม
- ประเภทของอาคาร
- รูปแบบและผังเจดีย์
- รูปทรงของเจดีย์
- รูปทรงสันนิษฐานของเจดีย์
- เจดีย์ที่สำคัญในสมัยทวารวดี
- เจดีย์ที่อยู่ในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดใหญ่
- เจดีย์ที่มีผังแปดเหลี่ยม
- อาคารที่มีแผนผังเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า
บทที่ 4 ประติมากรรม
- การแบ่งยุคสมัยของงานประติมากรรมทวารวดี
- สมัยทวารวดีตอนต้น (ราวพุทธศตวรรษที่ 12 – 13)
- สมัยทวารวดีตอนกลาง : สมัยทวารวดีอย่างแท้จริง (ราวพุทธศตวรรษที่ 13 – 15)
- สมัยทวารวดีตอนปลาย : อิทธิพลศิลปะขอม และสกุลช่างท้องถิ่น (ราวพุทธศตวรรษที่ 15 – 18)
- ประติมากรรมเนื่องในพุทธศาสนามหายาน
- แหล่งที่มางานประติมากรรมในพุทธศาสนามหายาน
- รูปแบบงานประติมากรรมในพุทธศาสนามหายาน
- ประติมากรรมเนื่องในศาสนาพราหมณ์
- ภาคใต้
- ภาคตะวันออก
- เมืองศรีเทพ
- ภาคกลาง
- พระพิมพ์ดินเผา
- ประติมากรรมรูปบุคคลและภาพเล่าเรื่องในชีวิตประจำวัน
- หน้าตาของ “คน” ทวารวดี
- ประติมากรรมที่แสดงสถานภาพทางสังคม
- ภาพชาวต่างชาติ
- นักดนตรี
- นักโทษ
- ประติมากรรมรูปบุคคลขนาดเล็ก (ตุ๊กตาดินเผา)
- ประติมากรรมรูปคนแคระและรูปสัตว์
- คนแคระ
- สิงห์
- ช้าง
บทที่ 5 ประติมานวิทยาและภาพเล่าเรื่องทางพุทธศาสนา
- พระพุทธรูปปางต่าง ๆ ที่สำคัญในสมัยทวารวดี
- พระพุทธรูปยืนปางประทานพร
- พระพุทธรูปยืนปางแสดงธรรมทั้งสองพระหัตถ์ (วิตรรกะมุทรา)
- พระพุทธรูปนั่งห้อยพระบาท (แบบยุโรป) ปางแสดงธรรม
- พระพุทธรูปปางสมาธิ
- พระพุทธรูปนาคปรกปางสมาธิ
- พระพุทธรูปปางปรินิพพาน
- ภาพเล่าเรื่องทางพุทธศาสนา
- พุทธประวัติตอนแสดงปฐมเทศนา
- พุทธประวัติตอนแสดงยมกปาฏิหาริย์ที่เมืองสาวัตถี
- ภาพสลักพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมต่อเทพเจ้าสูงสุดในศาสนาพราหมณ์
- พระพุทธรูปางแสดงธรรมประทับเหนือสัตว์ที่เรียกว่า “พนัสบดี”
- ภาพเล่าเรื่องชาดกในพุทธศาสนา
- ภาพสลักที่ถ้ำเขาถมอรัตน์ อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
- ภาพเล่าเรื่องบนใบเสมาอีสาน
- ภาพเล่าเรื่องบนใบเสมา
- ธรรมจักร
- คชลักษมี
บทที่ 6 ภาชนะดินเผา เครื่องใช้สอย และเครื่องประดับ
- ภาชนะดินเผา
- กลุ่มภาชนะที่มีอิทธิพลจากภายนอก
- ลวดลายบนภาชนะ
- เหรียญเงินและตราประทับ
- เหรียญเงิน
- ตราประทับ
- เครื่องมือเครื่องใช้
- เครื่องดนตรี
- เครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ
- เครื่องงแต่งกาย
- เครื่องประดับ
บทสรุป
บรรณานุกรม
ที่มาของภาพประกอบ