หน้าแรก หนังสือ ย้อนประวัติศาสตร์ 5000 ปี นอกพงศาวดารไทย พ.ศ. 743-1202

ย้อนประวัติศาสตร์ 5000 ปี นอกพงศาวดารไทย พ.ศ. 743-1202

ย้อนประวัติศาสตร์ 5000 ปี นอกพงศาวดารไทย พ.ศ. 743-1202

ชื่อผู้แต่ง เรืองยศ จันทรคีรี (Ed.)
ประเภท งานสารคดี
ประเด็นสำคัญ การเมือง ประวัติศาสตร์สังคม ระบบกษัตริย์ ศาสนา
จำนวนหน้า 200 หน้า
ภาษา ภาษาไทย
ปี พ.ศ. 2557
ปี ค.ศ. 2014
สำนักพิมพ์ สุวรรณภูมิอภิวัฒน์
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ

สารบัญ

คำนำในการจัดพิมพ์

คำนำจากผู้เรียบเรียง

ตอนที่ 1 เริ่มต้นรัชกาลมหาจักรพรรดิท้าวขุนพันวัง

ตอนที่ 2 ฟูนันที่สับสนหลายเวอร์ชั่น?

ตอนที่ 3 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ

ตอนที่ 4 อาณาจักรโจฬะบกและความสับสนในประวัติศาสตร์

ตอนที่ 5 ตัวตนของสหราชอาณาจักรคีรีรัฐตามหลักฐานจดหมายเหตุปโตเลมี

ตอนที่ 6 การก้าวเข้าสู่อำนาจของขุนพลพันทีมัน

ตอนที่ 7 บทบาทของเจ้าชายตาหมิง

ตอนที่ 8 โพธิ์ใน-โจฬะน้ำ-คีรีรัฐ

ตอนที่ 9 แนวรบในจีนส่งผลกับความขัดแย้งที่คีรีรัฐ

ตอนที่ 10 กวางสีต้นกำเนิดชนชาติตระกูลภาษาไทย

ตอนที่ 11 ย้อนอดีตสงครามแย่งชิงอาณาจักรไตจ้วง

ตอนที่ 12 ความต่อเนื่องของการแย่งชิงอาณาจักไตจ้วง

ตอนที่ 13 เหตุแห่งการกบฏ

ตอนที่ 14 ความเป็นมาของโจฬะน้ำ

ตอนที่ 15 จีนกับการใช้รัฐชนชาติทมิฬเป็นเครื่องมือแยกสลาย

ตอนที่ 16 สองกบฏใหญ่แห่งสหราชอาณาจักรคีรีรัฐ

ตอนที่ 17 บทเริ่มต้นหักโค้งประวัติศาสตร์ขาดตอนของฟูนัน

ตอนที่ 18 มหาจักรพรรดิท้าวเจตตาล-มหาจักรพรรดิท้าวพันพาน และขุนพลพันทีมัน

ตอนที่ 19 ความสับสนกับปัญหาเรื่องราชวงศ์ และกษัตริย์องค์แรกของฟูนัน

ตอนที่ 20 ขุนพลพันทีมันเป็นมหาจักรพรรดิของสหราชอาณาจักรคีรีรัฐจริงหรือ?

ตอนที่ 21 ตำนานไทยกับความสอดคล้องที่น่าสนใจกับหลักฐานอื่น ๆ

ตอนที่ 22 ประวัติศาสตร์กับตำนาน

ตอนที่ 23 ตัวตนในประวัติศาสตร์กับตำนานรัฐไทยโบราณ

ตอนที่ 24 ฟูนันก๊ก ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยของประชาคมอาเซียนในยุคแรก

ตอนที่ 25 เปิดปูมพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช คนไทยรู้ประวัติความเป็นมาแค่ไหน

ตอนที่ 26 พระถัมซัมจั๋งกับประวัติศาสตร์ไทยและกับแง่คิด มุมมองโลกมายาคติแบบสยามโบราณ

ตอนที่ 27 ข้อมูลใหม่และการตีความของนักประวัติศาสตร์ ผลไม่ได้มาจากข้อเท็จจริง แต่มาจากการตีความต่างหาก

ตอนที่ 28 การศึกษาประวัติศาสตร์ยาวดีกว่าประวัติศาสตร์สั้น สำหรับกลั่นกรองกระแสการเรียกร้องอัตลักษณ์ทางประวัติศาสตร์ที่ผิด ๆ ในจังหวัด 3 ชายแดน

ตอนที่ 29 รากลึกประวัติศาสตร์กับตัวตนการตอแหลแบบไทย ๆ อาณาจักรศรีสุชาติตาลูลาย สันพันธรัฐไทยโบราณ กับคนไทยใหญ่ ความเป็นจริงในยุคฟูนันกํก สืบสาแหรกเมืองพม่าที่เกี่ยวข้องกับรัฐไทยโบราณในสมัยฟูนันก๊ก (คีรีรัฐ)

ตอนที่ 30 ความมั่นคงของศรีวิชัย เกิดจากการรณรงค์สร้างความปรองดองของคนในรัฐไทยโบราณ-อาศัยมิติวัฒนธรรม

ตอนที่ 31 โฉมหน้าประวัติศาสตร์และปรัชญา บนวิถีขับเคลื่อนอำนาจโดยวัฒนธรรมตอแหล

ตอนที่ 32 เทียนสุน รัฐโบราณไทย กับบริบททางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้

ตอนที่ 33 สถานการณ์ความสับสนและการฉวยโอกาส บทเรียนจากประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยล้าสมัย

ตอนที่ 34 ภาพเปรียบเทียบการเปิดประเทศเมื่อ พ.ศ. 623 กับความพยายามปิดประเทศใน พ.ศ. 2556

ตอนที่ 35 ภาวะผู้นำจากประวัติศาสตร์และความพินาศที่เกิดจากภาวะผู้นำปัจจุบัน

ตอนที่ 36 มุมมองจากประวัติศาสตร์ว่าด้วยความเป็นปฏิปักษ์

ตอนที่ 37 มุมมองจากประวัติศาสตร์กับการสร้างรัฐซ้อนรัฐในสมัยโบราณ และการสร้างระบอบซ้อนระบอบของประเทศไทยในปัจจุบัน?

ตอนที่ 38 คำถามย้อนแย้งในแง่ประวัติศาสตร์ว่ามลายูปัตตานีคืออะไร?

ตอนที่ 39 บริบทบรรพบุรุษอ้ายไตที่ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของชนชาติไทยอาหม

ตอนที่ 40 ถกเรื่องมลายูปัตตานีระหว่างรัฐบาลไทยกับบีอาร์เอ็นตามร่องรอยจากข้อมูลและประวัติศาสตร์จริง

ตอนที่ 41 ลัทธิจักรวรรดิไศเลนทร จากแง่มุมประวัติศาสตร์จนถึงการเมืองประเทศไทย

ตอนที่ 42 นักรบศรีวิชัย? : ปิดกรุงเทพและล้มเลือกตั้ง เหตุแห่งการล่มสลายของศรีวิชัย และหรือไทย?

ตอนที่ 43 เงื่อนไขสุดท้ายของสงคราม พิสูจน์แพ้ชนะตรงความชอบธรรม

ตอนที่ 44 ปิดล้อม “อู่ทอง” เหลือ “ศรีวิชัย” แต่ปิดล้อม “ประเทศไทย” จะหลงเหลืออะไร

ตอนที่ 45 บทสรุปของสงคราม 3 ก๊ก อนาคตที่ต้องระวังของประเทศไทย

บทตาม บทตกหล่นและเพิ่มเติมด้านประวัติศาสตร์ ว่าด้วยชนชาติไตในดินแดนรัฐเจ็ดศรีพี่น้องของอินเดีย?

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

โจฬะ จดหมายเหตุปโตเลมี สงคราม พระถัมซัมจั๋ง

ยุคสมัย

ประวัติศาสตร์ยุคต้น ฟูนัน ศรีวิชัย

จำนวนผู้เข้าชม

605

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

14 มี.ค. 2565