หน้าแรก หนังสือ ลูกปัดโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ

ลูกปัดโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ

ลูกปัดโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ

ชื่อผู้แต่ง เชน ชุมพร
ประเภท เอกสารวิชาการ
ประเด็นสำคัญ เครื่องประดับ เทคโนโลยี
จำนวนหน้า 399 หน้า
ภาษา ภาษาไทย
ปี พ.ศ. 2563
ปี ค.ศ. 2020
สำนักพิมพ์ บริษัท โรงพิมพ์วัชรินทร์ พี.พี. จำกัด (สำนักงานใหญ่)
สถานที่พิมพ์ นนทบุรี

สารบัญ

คำนำ

บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับลูกปัดโบราณ

  - นิยามของลูกปัดโบราณ

  - คุณค่าของลูกปัดโบราณ

  - ความสำคัญของการศึกษาลูกปัดโบราณ

  - กำเนิดและวิวัฒนาการของลูกปัด

  - วัฏจักรของลูกปัดโบราณ

  - แหล่งที่พบลูกปัดโบราณ

  - ลักษณะการฝังตัวของลูกปัดโบราณ

  - ปริมาณของลูกปัดโบราณ

  - การขุดค้นลูกปัดโบราณ

  - การกำหนดอายุของลูกปัดโบราณ

  - แหล่งผลิตลูกปัดในยุคโบราณ

  - ความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของสังคมลูกปัดในยุคสมัยต่าง ๆ

  - รูปแบบการร้อยและการใช้งานลูกปัดในยุคโบราณ

  - วัสดุร้อยลูกปัดยุคโบราณ

บทที่ 2 ชนิดและรูปแบบ

  - วัสดุการผลิตลูกปัดโบราณ

    - วัสดุธรรมชาติ

    - วัสดุสังเคราะห์และเทคนิคพิเศษ

  - การจัดหมวดหมู่ลูกปัดโบราณ

    - รูปทรงของลูกปัด

    - การกำหนดชื่อเรียกของลูกปัดโบราณ

      - ลูกปัดหินทรงพื้นฐาน

      - ลูกปัดหินทรงพิเศษ

      - ลูกปัดเทคนิคพิเศษ - เขียนสิ

      - ลูกปัดทองคำ

บทที่ 3 การศึกษาลูกปัดโบราณ

  - ลูกปัดจากหินและแร่

    - การผลิตลูกปัดหินกึ่งรัตนชาติ

      - การพัฒนาประสิทธิภาพด้านการผลิต

      - การออกแบบรูปทรงและวางลายหิน

      - การปรับปรุงคุณภาพวัสดี

        - การเผาด้วยความร้อน

        - การหุงสี

        - การเขียนสิ

        - การเคลือบ

        - การพัฒนาวัสดุรูปแบบใหม่และการผลิตทดแทนกัน

    - ลักษณะทางกายภาพของลูกปัดหิน

      - ผิวของลูกปัดหิน

        - คราบตัวหนอน

        - รอยตุ๊ดตู่

        - คราบสังคโลก

        - จุดเลือด

    - เทคนิคและเครื่องมือการผลิตของลูกปัดหินในยุคโบราณ

        - รูและการเจาะ

        - การพัฒนาเครื่องมือเจาะในยุคโลหะ

        - เทคนิคการเจาะรูแบบโบราณ

        - ขนาดของลูกปัดโบราณ

  - การผลิตลูกปัดจากโลหะ

  - การผลิตแก้ว และการเคลือบ

        - ข้อสังเกตของเนื้อแก้วยุคโบราณ

        - การหลอมรวมกันของเนื้อแก้ว

        - การนำแก้วมาใช้ใหม่

      - การผลิตลูกปัดแก้วแบบต่าง ๆ

        - ลูกปัดแก้วสีเดียวหรือลูกปัดลม

        - การแต่งขึ้นรูปจากก้อนแก้ว

        - ลูกปัดแก้วแบบสองชั้น

        - ลูกปัดแก้วสองชั้นแบบสอดไส้หรือแก้วอำพัน

        - ลูกปัดแก้วเป่า

        - การหล่อและอัดพิมพ์

        - ลูกปัดแก้วแบบพันแกน

        - ลูกปัดแก้วแบบจิ้มแกน

        - ลูกปัดแก้สฝังลายหรือเติมลายเส้น

        - ลูกปัดแก้วโมเสก

        - ลูกปัดแก้วแบบบ้านเชียง

  - การผลิตลูกปัดในชุมชนแถบสุวรรณภูมิ

    - ชุมชนผลิตลูกปัดหินกึ่งรัตนชาติ

      - แหล่งหินและแร่ในประเทศไทย

    - ชุมชนผลิตแก้วและลูกปัดแก้ว

      - แหล่งทรายแก้วในประเทศไทย

    - การผลิตลูกปัดแก้วบ้านเชียง

    - ลักษณะของชุมชนที่ผลิตและใช้ลูกปัดแก้ว

    - การเสื่อมความนิยมของการใช้ลูกปัดในสุวรรณภูมิ

บทที่ 4 แหล่งที่พบลูกปัดโบราณ

  - ลูกปัดโบราณในประเทศพม่า

  - ลูกปัดโบราณในพื้นที่ภาคใต้

  - ลูกปัดโบราณในพื้นที่ภาคตะวันออกและประเทศกัมพูชา

  - ลูกปัดโบราณในพื้นที่ภาคกลาง

  - ลูกปัดโบราณในพื้นที่ภาคอีสาน

  - ลูกปัดโบราณในประเทศอินโดนีเซีย

  - การจัดชุดรูปแบบของลูกปัดโบราณ

บทที่ 5 สถานการณ์ในปัจจุบัน

  - ลูกปัดโบราณกับการนำกลับมาใช้ใหม่

  - ราคาและค่านิยม

  - การพิจารณาความน่าเชื่อถือของลูกปัดโบราณ

  - ลูกปัดเลียนแบบโบราณ

  - แหล่งลูกปัดกับค่านิยมเฉพาะแหล่ง

  - ลูกปัดโบราณกับวิถีชาวบ้าน

บรรณานุกรม

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

สุวรรณภูมิ ภาคใต้ อินโดนีเซีย พม่า กัมพูชา ภาคอีสาน ภาคกลาง บ้านเชียง

ยุคสมัย

ประวัติศาสตร์ยุคต้น สุวรรณภูมิ ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

จำนวนผู้เข้าชม

740

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

14 มี.ค. 2565