ชื่อผู้แต่ง | บัญชา พงษ์พานิช |
ประเภท | งานสารคดี |
ประเด็นสำคัญ | การค้าทางไกล เครื่องประดับ เทคโนโลยี |
จำนวนหน้า | 251 หน้า |
ภาษา | ภาษาไทย |
ปี พ.ศ. | 2552 |
ปี ค.ศ. | 2009 |
สำนักพิมพ์ | มติชน |
สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ |
คำนำสำนักพิมพ์
คำนิยาม : ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ประเวศ วะสี
แทนคำนิยมของไมเคิล ไรท
คำนิยม : ภูธร ภูมะธน
คำนำผู้เขียน
บทที่ 1 ก่อนเกิดคำถาม คือความเป็นมา
บทที่ 2 สมบัติล้ำค่าที่ตกหล่นในภาคใต
- ลูกปัดแก้วโมเสกและลูกปัดตา
- ลูกปัดแก้วสลับสี
- ลูกปัดแก้วสีเดียว
- ลูกปัดอินโดแปซิฟิก
- ลูกปัดลายแถบ
- ลูกปัดอำพันทองและโป่งเถียง
- ลูกปัดแถว ลูกปัดคู่
- ลูกปัดแก้วน้ำเคลือบ
- ลูกปัดอิฐไส้ดำ หลอดแก้ว ก้าน เสา
- ลูกปัดนกแสงตะวัน
- ลูกปัดทรงทุ่น
- ลูกปัดหินสี โหรา คาร์เนเลียน อเกต หินน้ำค้าง สังคโลก หยก อมิทิสน์ โกเมน
- ลูกปัดเขียนลาย
- ลูกปัดมงคล
- รูปทรงธรรมชาติ: พืชพันธุ์ สัตว์ต่าง ๆ
- รูปทรงสัญลักษณ์: เครื่องหมาย รูปเคารพ ศาสนา ศรัทธา และความเชื่อ
- รูปทรงตราประทับ อักขระ หัวแหวน และตาวิเศษ
- ลูกปัดทองคำ
- ลูกปัดตัวคั่น หิน ดิน หอย และอื่น ๆ
บทที่ 3 ร่องรอยลูกปัดจากแต่ละแหล่ง
- เขาสามแก้ว: ปริศนาแห่งแก้วสามประการ
- ท่าชนะ: แหล่งลูกปัดดสวยที่ถูกลืม
- แหลมโพธิ์ ไชยา: สวนสัตว์โมเสกพันปีสมัยศรีวิชัย
- เกาะคอเตา ตะกั่วป่า: ต้นตอของลูกปัดดังระดับโลก
- ภูเขาทอง: แม้ทองหมดก็ยังพบของสำคัญ
- บางกล้วย: ไม่ใช่เรื่องกล้วยเสียแล้วที่บางกล้วย
- บางโร คุระบุรี: หรือคือเมืองท่าตะโกลา ในตำราปโตเลมี
- อีก 5 แหล่งรายรอบ ใน 5 จังหวัดภาคใต้ตอนบน
บทที่ 4 ร้อยเรียงเรื่องราวเป็นสมมุติฐานใหม่
- ห้าข้อค้นพบจากการศึกษาติดตามลูกปัดและร่องรอยหลักฐานอื่น ๆ
- สี่สมมุติฐานเพื่อการศึกษาค้นคว้าต่อไป
บทที่ 5 จะปล่อยไปให้ไร้ร่องรอย หรือจะก้าวไปให้ไกลเกินลูกปัด
- จากกลุ่มสนใจศึกษาลูกปัด 5 ลักษณะ
- จนถึง “ดวงแก้ว-นิพพาน-เช่นนั้นเอง”
ภาคผนวก
- รายชื่อพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทยที่มีการจัดแสดงลูกปัด
- รายชื่อเว็ปไซต์และเครือข่ายลูกปัดทั้งภาครัฐและเอกชน