ชื่อผู้แต่ง | บัญชา พงษ์พานิช |
ประเภท | งานสารคดี |
ประเด็นสำคัญ | การค้าทางไกล การตั้งถิ่นฐาน ประวัติศาสตร์สังคม ศาสนา |
จำนวนหน้า | 163 หน้า |
ภาษา | ภาษาไทย |
ปี พ.ศ. | 2559 |
ปี ค.ศ. | 2016 |
สำนักพิมพ์ | สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [และ] มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ |
เส้นทางที่ชัดเจน จากชมพูทวีปสู่สุวรรณภูมิ?
1.1 สุวรรณภูมิ ที่ไหน? เมื่อไร? อย่างไร? พม่า ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย กัมพูชา เวียดนาม?
1.2 เป็นผลจากการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและการค้าขาย ตั้งแต่ช่วงพุทธศตวรรษที่ 2 – 3 โดยมีวัดเป็นหน่วยขับเคลื่อนสำคัญ
1.3 ท่ามกลางเครือข่ายระบบการค้าโลกในระบบย่อยอินโด-โรมัน เมื่อช่วงต้นพุทธศตวรรษมีสุวรรณภูมิเป็นที่สุดของเป้าหมายใด ๆ อาจจะก่อนหน้าสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
1.4 ดอนตาเพชร ทางภาคตะวันตก?
1.5 สุวรรณภูมิ บนภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
1.6 พันปีก่อนพุทธกาล ที่นี่มีพื้นฐานวัฒนธรรมร่วมกันแล้ว พื้นที่สำคัญคือภาคตะวันตกของประเทศไทยที่อินเดียเข้ามา
1.7 ลูกปัด ภาชนะสำริด ตะเกียงโรมัน ตราประทับฯ จากอินเดียเมื่อสมัยโมริยะ-ศุงคะ และกุษาณะ-คุปตะ
1.8 ที่เมืองอู่ทองและภาคตะวันตกของประเทศไทยนี้เอง พ่อค้าชาวพุทธได้เดินทางเข้ามาติดต่อค้าขายและตั้งถิ่นฐานและได้นำเอาพุทธศาสนาเข้ามา
1.9 รวมทั้งที่ภาคใต้ตอนบนด้วย
รอยแรก ๆ และการสืบสานพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ทวารวดี ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ ละโว้ อโยธยา ยโสธรปุระ โยนก ฯลฯ
2.1 ที่ภาคตะวันตกและภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย 2 พื้นที่สำคัญที่พบหลักฐานพุทธศาสนาสมัยสุวรรณภูมิ
2.2 ที่นำมาจากอินเดียกับที่ทำในพื้นที่ประเทศไทย : ต้นแบบศิลปะสมัยทวารวดีที่ยกระดับพัฒนาและสืบต่อถึงทุกวันนี้
2.3 ทวารวดี : แรกเริ่มอารยธรรมพุทธในประเทศไทย ที่รับจากอินเดียแล้วปรับเป็นไทยก่อนขยายไปทั่วแผ่นดิน
2.4 วิถีวัฒนธรรมทวารวดีที่ผืนแผ่นดินไทย 10 เรื่องเบื้องต้นล้วนรับและปรับจากอินเดีย
2.5 รอยพุทธสำคัญสมัยทวารวดีที่ประเทศไทย
2.6 ผ่าน ตามพรลิงค์ ศรีวิชัย สุพรรณภูมิ ละโว้ อโยธยา ศรียโสธรปุระ ศรีโคตรบูรณ์ โยนกฯ สู่สุโขทัย ทวารวดีศรีอยุธยา ธนบุรีมหาสมุทรและกรุงเทพมหานครอมรรัตนโกสินทร์
2.7 รูปแบบและยุคสมัยของรอยพระพุทธศาสนาที่พบทั่วไทย คือเส้นทางการปรับรับพระพุทธศาสนาบนผืนแผ่นดินไทยถึงทุกวันนี้
ที่เป็นพุทธไทยในทุกวันนี้