ชื่อผู้แต่ง | ขุนศิริวัฒนอาณาทร (ผล ศิริวัฒนกุล) |
ประเภท | งานสารคดี |
ประเด็นสำคัญ | การค้าทางไกล การเดินเรือ ประวัติศาสตร์สังคม เศรษฐกิจการค้า |
จำนวนหน้า | 260 หน้า |
ภาษา | ภาษาไทย |
ปี พ.ศ. | 2514 |
ปี ค.ศ. | 1971 |
สำนักพิมพ์ | นครหลวงกรุงเทพธนบุรี |
สถานที่พิมพ์ | พระนคร |
ตอนที่ 1
- เรื่องเมืองทองตามทีปวงศ์มหาวงศ์ ประกอบกับศิลาจารึกของพระเจ้าอโศกและชาดกต่าง ๆ
– เรื่องเมืองทองเป็นศิริมงคงทางพุทธศาสนา
- เป็นมิ่งขวัญของดินแดนซึ่งชาวไทยควรต้องทราบ
- พระมติของสมเด็จกรมพระยาดำรงฯ
- บทเพลงชาติกับเมืองทอง
- โวหารในเรื่องที่มาของนามสุวรรณภูมิ
- เรื่องเมืองทองยังไม่มีบริบูรณ์ในภาษาไทย
ตอนที่ 2
- การเลือกหลักฐานสำหรับนำมาพิจารณา
- ชื่อเมืองทองตามจดหมายเหตุโบราณ
- ตำนานการเดินเรือค้าขายในทวีปอาเซียครั้งดึกดำบรรพ์
- วิสัยสามารถที่ชาวโรมัน ชาวกรีกจะจด เรื่องเมืองทองไว้
- หลักฐานเมืองทองตามจดหมายเหตุโรมัน
ตอนที่ 3
- หลักฐานตามจดหมายเหตุกรีก
- วิสัย สามารถ ที่จีนโบราณจะจดเรื่องเมืองทองไว้
- บ้านเมืองต่าง ๆ ในแหลมทองยุค พ.ศ. 700 – 1100
- หลักฐานเมืองทางตามจดหมายเหตุจีน
ตอนที่ 4
- หลักฐานต่าง ๆ ที่อ้างมาเชื่อถือได้หรือไม่
- วินิจฉัยว่าเมืองทองเคยมีจริงในอดีต
- พิจารณาว่าเมืองทองอยู่ทางส่วนไหนของโลก
- คำกล่าวว่าเมืองทองอยู่ที่อ่าวตังเกี๋ย
- คำกล่าวว่าเมืองทองอยู่ที่เกาะสุมาตรา
- คำกล่าวเมืองทองอยู่ที่ลุ่มน้ำพรหรมบุตร
- พิจารณาร่องรอยเมืองทองจากหลักฐาน หนังสือบาฬี
- สุวรรณภูมิตามหลักฐานหนังสือบาฬี กับเมืองทองตาม จดหมายเหตุชาวต่างประเทศ
ตอนที่ 5
- สุวรรณภูมิไม่ใช่ชื่อแหลมทอง
- เมืองทองต้องอยู่แถมเมืองไทยกับเมืองมอญ
- เรื่องบ่อทองและนามเมืองเนื่องด้วยทอง
- เหตุผลในลักษณะภูมิประเทศระหว่างเมืองไทยกับเมืองมอญ
- เมืองทองต้องอยู่ในแดนไทยหรือแดนมอญฝ่ายเดียว
ตอนที่ 6
- สุวรรณภูมิเป็นเมืองค้าขายสำคัญ
- ทางค้าขายในท้องทะเลสมัยโบราณ
- หาเมืองท่าในเขตต์มอญ
- ฐานะของช่องมลกาสมัยพระเจ้าอโศก
- สุวรรณภูมิเป็นประตูค้าขายแห่งอาเซียตวันออก
- ทางค้าขายข้ามแหลมมลายูในเขตต์แดนสยาม
- ตลาดตะโกลากับตะกั่วป่า
- ชาวอ่าวมะตะบันไม่อาจมีอำนาจเหนือตะกั่วป่า
ตอนที่ 7
- เรื่องปรัมปราเกี่ยวแก่เมืองสะเทิม
- หลักพิจารณาหาอรรถรสจากเรื่องปรัมปรา
- ชาวกลิงค์กับเรื่องปรัมปราทางตะวันออก
- ชาวกลิงค์อพยพหนียุทธภัยครั้งพระเจ้าอโศก
- ชาติมอญ
- เขมรกับดินแดนส่วนกลางแหลมทอง
- ฐานะเมืองสะเทิมครั้งพระเจ้าอโศก
- สะเทิมเป็นเมืองชั้นใหม่
- สมณทูตควรจะมาที่ไหน
- พิจารณาชาติพันธุ์ มนุษย์ในแหลมมลายู
- วิธีปกครองบ้านเมืองครั้งโบราณ
- นครในแหลมมลายู
- เมืองท่าทอง
ตอนที่ 8
- ศาสนาของชาวแหลมทองโดยทั่ว ๆ ไป
- พระพุทธศาสนาในเมืองพม่าและเขมร
- พระพุทธศาสนาในเมืองมอญเมื่อพ.ศ.200
- พระพุทธศาสนาในลุ่มน้ำเจ้าพระยาเมื่อพ.ศ.1800 พ.ศ.1500 และ พ.ศ.1200
- พระพุทธศาสนาที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาใน 1000 ปีแรกแห่งพระพุทธศาสนา
- เหตุการณ์ในอินเดียเมื่อสิ้นรัชชกาลพระเจ้าอโศก ข้อสันนิษฐานตำนานพระพุทธศาสนาในลุ่มน้ำเจ้าพระยาเมื่อพ.ศ.700
- โบราณวัตถุในเมืองสะเทิม
- เรื่องพระพุทธโฆษาจารย์มาเมืองสะเทิม
- เรื่องพระเจ้าอโนรธามังฉ้อยกมาตีเมืองมอญ
- สะเทิมเพิ่งนับถือพระพุทธศาสนา
- พระโสณพระอุตตรมาสุวรรณภูมิจริงหรือไม่
- ชาวลุ่มน้ำเจ้าพระยานับถือพระพุทธศาสนามาแต่ครั้งพระเจ้าอโศก
ตอนที่ 9
- ข้ออ้างฝ่ายมอญ
- ฐานะข้ออ้างฝ่ายมอญ
- ข้ออ้างของฝ่ายมอญเกี่ยวแก่จดหมายเหตุกรีก
- ข้ออ้างของฝ่ายมอญเกี่ยวแก่จดหมายเหตุจีน
- พิจารณาหาเขตต์แดนแว่นแคว้นเจนละ
- แว่นแคว้นทราวดี
- ฐานที่ตั้งของอาณาเขตต์ทอง
ตอนที่ 10
- สรุปหลักฐานตามจดหมายเหตุชาวต่างประเทศ
- สุวรรณภูมิอยู่ในลุ่มน้ำสยามประเทศ
- ตำนานแว่นแคว้นสุวรรณภูมิ
- การอพยพของชาติมนุษย์ในแหลมทอง
- ลุ่มน้ำสยามประเทศเป็นบ้านเมืองดั้งเดิมของมอญ
- เริ่มแรกความเจริญในแหลมทอง
- การค้าขายกับอินเดีย
- อารยธรรมของชาวอินเดีย
- การตั้งชื่อสุวรรณภูมิ
- การแตกแยกและเสื่อมโทรมของสุวรรณภูมิ
- มอญอพยพ
- สาเหตุในเรื่องชาวเมืองสะเทิมอ้างว่าสุวรรณภูมิอยู่ในเมืองมอญ
ตอนที่ 11
- ปรารภมงคลทางพระศาสนา
- พระปฐมเจดีย์
- การปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์
- การรักษาพระพุทธศาสนา
- ชาติไทยกับพระพุทธศาสนา
- ปรารภมิ่งขวัญของดินแดน
- บทเพลงชาติ
- ชาติไทยกับสุวรรณภูมิ
- การรักษาดินแดน
ภาคผนวก
- เรื่องชื่อภาษาจีน
- เรื่องบ้านเมืองโบราณบางแห่งในแหลมทอง
- สังเขปเรื่องภิกษุจีนไปสืบพระศาสนาที่อินเดีย
- หนังสือพงศาวดารจีน
- ศิลาจารึกของพระเจ้าอโศก