หน้าแรก หนังสือ โบราณคดีในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้

โบราณคดีในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้

โบราณคดีในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้

ชื่อผู้แต่ง สุกัญญา เบาเนิด
ประเภท เอกสารวิชาการ
ประเด็นสำคัญ การตั้งถิ่นฐาน ศิลปะ
จำนวนหน้า 249 หน้า
ภาษา ไทย
ปี พ.ศ. 2553
ปี ค.ศ. 2010
พิมพ์ครั้งที่ 1
สำนักพิมพ์ หจก.ศิริธรรมออฟเซ็ท
สถานที่พิมพ์ อุบลราชธานี
ลิงก์ ลิงก์หนังสือ

สารบัญ

คำนำ

สารบัญ

 

1 บทนำ

1.1 ความเป็นมา

1.2 ความสำคัญของปัญหา

1.3 วัตถุประสงค์

1.4 ระยะเวลาดำเนินงาน

1.5 ขอบเขตการศึกษา

1.6 วิธีการดำเนินงาน

1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

 

2 สภาพทั่วไป ประวัติความเป็นมา ตำนานท้องถิ่น

2.1 สภาพภูมิศาสตร์ทุ่งกุลาร้องไห้

2.2 พื้นที่และอาณาเขต

2.3 สภาพภูมิประเทศและธรณีวิทยา

2.4 สภาพระบายน้ำ

2.5 สภาพดิน

2.6 สภาพอากาศ

2.7 ตำนานทุ่งกุลาร้องไห้

2.8 ประวัติทุ่งกุลาร้องไห้

2.9 ชนชาวกุลา

2.10 กลุ่มชนที่อยู่ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้

2.11 วัฒนธรรมทุ่งกุลา

2.12 ประวัติการดำเนินงานทางโบราณคดีในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องให้

 

3 การสำรวจทางโบราณคดี

3.1 ขั้นตอนและวิธีการสำรวจ

3.2 แหล่งโบราณคดีในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้

3.3 พัฒนาการชุมชนโบราณในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้และอายุสมัย

3.4 หลักฐานพิธีกรรมการฝังศพ

3.5 เครื่องปั้นดินเผาแบบทุ่งกุลา

 

4 การขุดค้นทางโบราณคดี

4.1 แหล่งโบราณคดีบ้านเมืองบัว ตำบลเมืองบัว อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด

4.1.1 ที่ตั้ง

4.1.2 เส้นทางเข้าถึงแหล่ง

4.1.3 ลักษณะทางกายภาพ

4.1.4 โบราณสถานสำคัญ

4.1.5 ประวัติการศึกษา

4.1.6 การขุดค้นทางโบราณคดี

4.1.7 ชั้นหลักฐานทางโบราณคดี

4.2 แหล่งโบราณคดีบ้านโพนทอง ตำบลเมืองบัว อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด

4.2.1 ที่ตั้ง

4.2.2 เส้นทางเข้าถึงแหล่ง

4.2.3 ลักษณะทางกายภาพ

4.2.4 ประวัติการศึกษา

4.2.5 การขุดค้นทางโบราณคดี

4.2.6 ชั้นหลักฐานทางโบราณคดี

4.3 การกำหนดอายุและลำดับชั้นทางวัฒนธรรม

4.4 ลำดับอายุสมัยของวัฒนธรรมทุ่งกุลา

 

5 หลักฐานพิธีกรรรมการฝังศพ

5.1 ทรรศนะเกี่ยวกับความตาย

5.2 พิธีกรรมความตายความสำคัญเชิงการหน้าที่

5.3 พิธีกรรมความตายในประเทศไทยว่าด้วยหลักฐานทางโบราณคดี

5.4 รูปแบบการจัดการเกี่ยวกับพิธีกรรมศพ

5.5 หลักฐานเกี่ยวกับพิธีกรรมการฝังศพแหล่งโบราณคดีบ้านเมืองบัว

5.6 หลักฐานเกี่ยวกับพิธีกรรมการฝังศพแหล่งโบราณคดีบ้านโพนทอง

5.7 สรุปพิธีกรรมการฝังศพแหล่งโบราณคดีบ้านเมืองบัวและบ้านโพนทอง

5.8 ภาชนะฝังศพฐานคติความเชื่อของกลุ่มคนในวัฒนธรรมทุ่งกุลา

 

6 หลักฐานเศษภาชนะดินเผา

6.1 การวิเคราะห์เศษภาชนะดินเผา

6.1.1 ขั้นตอนและวิธีการศึกษา

6.1.2 การเรียกชื่อส่วนต่างๆของภาชนะดินเผา

6.1.3 การจำแนกรูปแบบของภาชนะดินเผ่า

6.2 การวิเคราะห์เศษภาชนะดินเผาจากการขุดค้นแหล่งโบราณคดีบ้านเมืองบัว

6.3 การวิเคราะห์เศษภาชนะดินเผาจากการขุดค้นแหล่งโบราณคดีโพนทอง

6.4 สรุปผลการศึกษา

 

7 หลักฐานโบราณวัตถุประเภทต่าง ๆ

7.1 การวิเคราะห์โบราณวัตถุจำแนกตามประเภทแหล่งโบราณคดีบ้านเมืองบัว

7.1.1 ประเภทดินเผา

7.1.2 ประเภทโลหะ

7.1.3 ประเภทกระดูก

7.1.4 ประเภทหิน

7.1.5 สรุปผลการศึกษา

7.2 การวิเคราะห์โบราณวัตถุจำแนกตามประเภทแหล่งโบราณคดีบ้านโพนทอง

7.2.1 ประเภทดินเผา

7.2.2 ประเภทหิน

7.2.3 ประเภทโลหะ

7.2.4 ประเภทแก้ว

7.2.5 สรุปผลการศึกษา

7.3 การวิเคราะห์กระดูกสัตว์

บรรณานุกรม

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดแห่งชาติ

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

โบราณคดีไทย การฝังศพ วัฒนธรรมทุ่งกุลา โบราณวัตถุ

ยุคสมัย

ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย

จำนวนผู้เข้าชม

184

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

27 มี.ค. 2567