ชื่อผู้แต่ง | เชษฐ์ ติงสัญชลี |
ประเภท | เอกสารวิชาการ |
ประเด็นสำคัญ | ศิลปะ |
จำนวนหน้า | 331 หน้า |
ภาษา | ไทย |
ปี พ.ศ. | 2562 |
ปี ค.ศ. | 2019 |
พิมพ์ครั้งที่ | 1 |
สำนักพิมพ์ | มติชน |
สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ |
ลิงก์ | ลิงก์หนังสือ |
บทที่ 1 การศึกษาที่ผ่านมาและประเด็นปัญหาสำหรับการวิจัย
1.1 การศึกษาที่ผ่านมา
1.2 ประเด็นปัญหาของการศึกษาที่ผ่านมา
1.3 วิธีการแบ่งบทและวิธีการศึกษาในวิจัยฉบับนี้
บทที่ 2 ทรงผลและศิราภรณ์ในศิลปะอินเดียและเอเชียอาคเนย์
2.1 ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษา
2.2 ชฎามกุฎ
2.2.1 ข้อมูลเบืองต้นเกี่ยวกับชฎามกุฎ
2.2.2 การจัดเส้นพระเกศาของชฎามกุฎในศิลปะคุปตะสกุลช่างสารนาถ
2.2.3 การจัดเส้นพระเกศาของชฎามกุฎในศิลปะวกาฏกะ
2.2.4 การจัดเส้นพระเกศาของชฎามกุฎในศิลปะปาละ
2.2.5 การจัดเส้นพระเกศาของชฎามกุฎในศิลปะอินเดียใต้
2.2.6 ชฎามกุฎระยะต้นในเอเชียอาคเนย์กับอิทธิพลศิลปะคุปตะสกุลช่างสารนาถ
2.2.7 ชฎามกุฎในศิลปะเขมร และการเปลี่ยนแปลงภายหลังอิทธิพลคุปตะ
2.2.8 ชฎามกุฎในศิลปะชวาภาคกลาง และการเปลี่ยนแปลงภายหลังอิทธิพลคุปตะ
2.2.9 ชฎามกุฎในศิลปะพุกาม
2.2.10 ชฎามกุฎแบบพื้นเมือง-เบ็ดเตล็ดในเอเชียอาคเนย์
2.3 ทรงผมแบบ "ชฎาภาร" ในศิลปะอินเดีย และการเข้ามาในเอเชียอาคเนย์
2.4 รูปทรงของกิรีฏมกุฎ (หมวกทรงกระบอก) ในศิลปะอินเดียและเอเชียอาคเนย์
2.4.1 กิรีฏมกุฎแบบ "หมวกทรงกระบอก" ในศิลปะอินเดีย
2.4.2 กิรีฏมกุฎแบบ "หมวกทรงกระบอก" ในเอเชียอาคเนย์
2.5 กรัณฑมกุฎในศิลปะอินเดียและเอเชียอาคเนย์
2.5.1 กรัณฑมกุฎในศิลปะอินเดีย
2.5.2 กรัณฑมกุฎในศิลปะเอเชียอาคเนย์
2.6 ตาบเพชรพลอยและตาบประเภทอื่น ๆ สำหรับประดับศิราภรณ์
2.6.1 ตาบที่เกิดจากผ้าโพกหัว
2.6.2 ตาบเพชรพลอย
2.6.3 ตาบสามเหลี่ยมประดับกะบังหน้า
สรุปบทที่ 2
บทที่ 3 สร้อยพระศอและยัชโญปวีตในศิลปะอินเดียและเอเชียอาคเนย์
3.1 ประเด็นศึกษาเกี่ยวกับสร้อยพระศอและยัชโญปวีต
3.2 สร้อยพระศอ
3.2.1 สร้อยพระศอในศิลปะอินเดีย : "สร้อยรอบพระศอ" และ "สร้อยรูปตัวยู"
3.2.2 ภาพรวมของสร้อยพระศอในศิลปะเอเชียอาคเนย์ภายใต้อิทธิพลอินเดีย
3.3 อุทรพันธะ
3.3.1 อุทรพันธะในศิลปะอินเดีย
3.3.2 อุทรพันธะในศิลปะเอเชียอาคเนย์
3.4 ยัชโญปวีตเส้นเชือกและมุกตยัชโญปวีต
3.4.1 ยัชโญปวีตในศิลปะอินเดีย
3.4.2 ยัชโญปวีตในศิลปะเอเชียอาคเนย์
3.5 อชินยัชโญปวีตและวาสตรยัชโญปวีต
3.5.1 อชินยัชโญปวีตและวาสตรยัชโญปวีตในศิลปะคุปตะ
3.5.2 อชินยัชโญปวีตและวาสตรยัชโญปวีตในศิลปะปาละ
3.5.3 อชินยัชโญปวีตและวาสตรยัชโญปวีตในศิลปะอินเดียใต้
3.5.4 อชินยัชโญปวีตและวาสตรยัชโญปวีตในศิลปะเอเชียอาคเนย์
3.6 พาหุรัด
3.6.1 พาหุรัดในศิลปะอินเดีย
3.6.2 พาหุรัดในศิลปะเอเชียอาคเนย์
สรุปบทที่ 3
บทที่ 4 กฏิสูตร เข็มขัด และผ้านุ่งในศิลปะอินเดียและเอเชียอาคเนย์
4.1 ประเด็นศึกษาเกี่ยวกับกฏิสูตร เข็มขัด และผ้านุ่ง
4.2 กฏิสูตร
4.2.1 พัฒนาการของกฏิสูตรเฉียงในศิลปะอินเดียเหนือ
4.2.2 พัฒนาการของกฏิสูตรตรงในศิลปะอินเดียใต้
4.2.3 พัฒนาการของกฏิสูตรวงโค้งในศิลปะอินเดียใต้
4.2.4 กฏิสูตรในเอเชียอาคเนย์
4.3 เข็มขัด
4.3.1 เข็มขัดในศิลปะคุปตะสกุลช่างสารนาถ
4.3.2 เข็มขัดในศิลปะปาละ
4.3.3 เข็มขัดในศิลปะปัลลวะและโจฬะ
4.3.1 ปรากฏการณ์ของเข็มขัดในศิลปะเอเชียอาคเนย์
4.4 ผ้านุ่ง
4.4.1 ผ้านุ่ง 3 ประเภทในศิลปะอินเดียและเอเชียอาคเนย์
4.4.2 วิธีการทรงผ้านุ่งในศิลปะอินเดียและเอเชียอาคเนย์
สรุปบทที่ 4
บทที่ 5 อิทธิพล การแบ่งพื้นที่ และปรากฏการณ์ของประติมากรรมอินเดียกับเอเชียอาคเนย์
5.1 อิทธิพลอินเดียต่อประติมากรรมบุคคลในเอเชียอาคเนย์
5.1.1 ศิลปะอินเดียสกุลที่อิทธิพลด้านประติมากรรมต่อเอเชียอาคเนย์อย่างรุนแรง
5.1.2 ศิลปะอินเดียสกุลที่อิทธิพลด้านประติมากรรมต่อเอเชียอาคเนย์น้อย
5.2 การแบ่งแยกระหว่างเอเชียอาคเนยืภาคพื้นทวีปและเอเชียอาคเนย์หมู่เกาะ-คาบสมุทร
5.2.1 แนวโน้ม (trend) ที่แสดงความแตกต่างของประติมากรรมเอเชียอาคเนย์ภาคพื้นทวีปและเอเชียอาคเนย์แถบหมู่เกาะ
5.2.2 ความเป็น "พื้นที่ระหว่างกลาง" ของศิลปะศรีวิชัยในคาบสมุทรภาคใต้
5.2.3 การแลกเปลี่ยนทางด้านอิทธิพลระหว่างประติมากรรมเอเชียอาคเนย์ในหมู่เกาะและภาคพื้นทวีป
5.3 "ปรากฏการณ์" ทางด้านรูปแบบของประติมากรรมในเอเชียอาคเนย์ภายใต้อิทธิพลอินเดีย
5.3.1 "ลักษณะร่วม" ของศิลปะเอเชียอาคเนย์ที่แสดงให้เห็นบทบาทของอิทธิพลอินเดีย
5.3.2 พลวัตด้านพัฒนาการที่แตกต่างกันระหว่างสกุลศิลปกรรมในเอเชียอาคเนย์
5.3.3 ความเป็นพื้นเมืองของศิลปะเอเชียอาคเนย์ รวมถึงประเด็นการ "เลือกรับ" และ "ปฏิเสธ" ของประติมากรเอเชียอาคเนย์ต่ออิทธิพลอินเดีย
5.3.4 เครื่องแต่งกาย ทรงผม และประเด็นทางประติมานวิทยาในเอเชียอาคเนย์ที่แตกต่างไปจากศิลปะอินเดีย
สรุปบทที่ 5
บทสรุป
บรรณานุกรม