ชื่อผู้แต่ง | มาเรีย-เธแรส เดอ มัลมาน (ผู้แต่ง), สุภัทรดิศ ดิศกุล (ผู้แปล) |
ประเภท | เอกสารวิชาการ |
ประเด็นสำคัญ | ศาสนา ศิลปะ |
จำนวนหน้า | 508 หน้า |
ภาษา | ไทย |
ปี พ.ศ. | 2527 |
ปี ค.ศ. | 1984 |
สำนักพิมพ์ | องค์การค้าของคุรุสภา |
สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ |
ลิงก์ | ลิงก์หนังสือ |
คำนำ
บทที่ 1 คัมภีร์ที่ใช้แต่งหนังสือพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
1. คัมภีร์สุขาวดีพยูหะฉบับยาว
2. คัมภีร์อมิตยุรพุทธานุสมฤติสูตร
3. คัมภีร์สัทธรรมปุณฑรีกาสูตร
4. คัมภีร์โลเกศวรศตกะ
5. คัมภีร์การัณฑพยูสูตร
6. คัมภีร์มัญชุศรีมูลกัลปะ
7. คัมภีร์สาธนมาลา
บทที่ 2 พระนามของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
บทที่ 3 ความสำคัญของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในประเทศอินเดีย
1. ความคล้ายคลึงกับเทพเจ้าในประเทศอิหร่าน
2. พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรมหาสัตว์
3. พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรเจ้าแห่งจักรวาล
4. พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรกับความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกาย
บทที่ 4 การศึกษาเกี่ยวกับกำหนดอายุของเทวรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในศิลปะอินเดีย
1. เทวรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในสมัยโบราณ
2. ประติมากรรมพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในศิลปะสมัยหลังราชวงศ์กุษาณและในศิลปะสมัยคุปตะที่เมืองมถุรา
3. รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรตามบันทึกความทรงจำของพระภิกษุจีนเหี้ยนจัง (Hiuan-tsang)
4. รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในแคว้นมหาราษฎร์และดินแดนใกล้เคียง
(1) ปาฏิหาริย์ของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
(2) พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรผู้เป็นใหญ่
(3) พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรบริวารพระพุทธองค์
(4) พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรทวารบาล
5. รูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในศิลปะอินเดียภาคตะวันออก
(1) พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในแคว้นโอริสสะ ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 13-14
(2) พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในศิลปะสมัยราชวงศ์ปาละและเสนะ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 13-17
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 6 กร
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 4 กร
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 2 กร
1. พระโพธิสัตว์โลกนาถ
2. พระโพธิสัตว์รักตโลเกศวรรูปที่ 2
3. พระโพธิสัตว์นัลกัณฐโลเกศวร (?)
4. พระโพธิสัตว์สิงหาสนโลเกศวร
5. พระสิงหนาทโลเกศวร
6. พระศรีโปตลเกโลกนาถ
7. พระขสรรปณะโลเกศวร
8. พระวัชรธรรมโลเกศวร
9. พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในฐานะบริวาร
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 12 หรือ 16 กร
พระโลเกศวร-วิษณุ (?)
บทที่ 5 การศึกษาแบบศิลปะของรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในประเทศอินเดีย
1. ลักษณะพระพักตร์
2. เครื่องแต่งองค์
(1) ผ้าทรง (อันตรวาสก)
(2) ผ้าคลุมหรือผ้าห่ม (อุตตรียะ)
(3) ผ้า
(4) หนังกวาง (อชินะ)
สรุป
3. ทรงผม
แบบ ก.
แบบ ข. ชฎามงกุฏ
แบบ ค. ทรงผม 3 ปอย (ตริจีระ)
4. เครื่องอาภรณ์
(1) กุณฑล
ก. กุณฑลรูปแผ่นกลม (ปัตรกุณฑล)
ข. กุณฑลรูปห่วง (รัตรกุณฑล)
ค. กุณฑลรูปดอกบัวตูม
ง. กุณฑลแบบสองข้างไม่เหมือนกัน
(2) กรองศอ (หาระหรือมาลา)
ก. กรองศอลายลูกประคำ
ข. กรองศอที่อ่อนนุ่ม
ค. กรองศอแบบแข็งกระด้าง
ง. กรองศอยาว
(3) สายธุรำ (ยัชโญวีต)
(4) พาหุรัก (เกยูร)
(5) ทองกร (กังกณะ)
(6) สายรัดองค์ (กฏิพันธะ)
แบบ ก. สายรัดองค์ที่อ่อนนุ่มประกอบด้วยโซ่เล็ก ๆ
แบบ ข.
แบบ ค.
แบบ ง.
แบบ จ.
(7) ทองพระบาท (นูปุระ)
สรุป
5. ท่าทาง
(1) ท่าทรวพักผ่อน (ลลิตาสน์)
(2) ท่าทรงสำราญของพระราชา (มหาราชลีลาสน์ หรืออรรถปรยังกะ)
(3) ท่าขัดสมาธิเพชร (วัชรปรยังกะ)
(4) ท่าประทับนั่งห้อยพระบาททั้งสองข้าง
(5) ท่าอันสูงศักดิ์ (สัตวปรยังกะ) คือท่านั่งขัดสมาธิราบ
6. ปาง
(1) ปางประทานอภัย (อภัยมุทรา)
(2) ปางประทานพร (วรมุทรา)
(3) ปางอัญชลี (อัญชลิมุทรา)
(4) ปางทรงแสดงธรรม (ธรรมจักรมุทรา)
(5) ปางข่มขู่ (ดรรชนีมุทรา)
7. วัตถุที่ทรงถือ
(1) หม้อน้ำ (กมัณฑลุ)
(2) บัวชมพูบาน (ปัทมะ)
ก. บัว "รูปกลม" มองเห็นด้านข้าง
ข. บัว "รูปกลม" มองเห็นด้านหน้า
ค. บัว "แบบธรรมชาติ" มองเห็นทางด้านหน้า
ง. บัว "แบบธรรมชาติ" มองเห็นทางด้านข้าง และมีกลีบบัวแนวเดียว
จ. บัว "แบบธรรมชาติ" มองเห็นทางด้านข้าง และมีกลีบบัว 2 แนว
ฉ. บัวมีพระขรรค์อยู่ด้านบน
(3) ลูกประคำ (อักษมาลา หรือ อักษสูตร)
(4) บ่วงบาศ
(5) ลูกแก้ว (มณี หรือ รัตนะ)
(6) หนังสือ (ปุลตกะ)
(7) ไม้สามขา (ตริทัณฑะ)
(8) บาตร
(9) ขอช้าง (อังกุศ)
(10) ไฟศักดิ์สิทธิ์ (อัคนี)
(11) ตะบอง (คทา)
(12) กระดิ่งมีด้าม (ฆัณฎา)
(13) สังข์
(14) ตรีศูล
(15) บัวขาบ (อุบล หรือ นิโลตบล)
(16) แส้ (เจารี หรือ จามร)
8. รัศมีและประภามณฑล
(1) รัศมี (ศิรัศจักร หรือ มุขมณฑล)
ก. รัศมีรูปวงกลม
ข. รัศมีรูปวงโค้ง
(2) ประภามณฑล (ประภาวลี)
9. ฐาน ที่นั่ง แผ่นเบื้องหลัง และพาหนะ
(1) ฐานและฐานบัว (ปัทมปิฐะและปัทมาสน์
(2) บัลลังก์และแผ่นเบื้องหลังซึ่งมีรูปสัตว์ประกอบ
(3) พาหนะ
10. สิ่งประกอบ
(1) ภาพด้านข้างของปาฏิหาริย์ของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
(2) พระพุทธรูป
(3) ถ้ำในภูเขา
(4) เทวดาเหาะ
(5) สถูป
(6) แก้วเจ็ดประการ (สัปตรัตนะ)
(7) ไฟอันศักดิ์สิทธฺ์ (อัคนี)
11. พระพุทธรูปในมวยพระเกศา
บทสรุป
ภาคผนวก
คำบรรยายภาพ
คำบรรยายภาพลายเส้น
ภาพประกอบ
ภาพลายเส้น