หน้าแรก หนังสือ ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับเคมบริดจ์ เล่มหนึ่ง จากยุคแรกเริ่มถึงประมาณ ค.ศ. 1500

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับเคมบริดจ์ เล่มหนึ่ง จากยุคแรกเริ่มถึงประมาณ ค.ศ. 1500

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับเคมบริดจ์ เล่มหนึ่ง จากยุคแรกเริ่มถึงประมาณ ค.ศ. 1500

ชื่อผู้แต่ง นิโคลาส ทาร์ลิ่ง (บรรณาธิการ), มัทนา เกษกมล และมัทนี เกษกมล (ผู้แปล)
ประเภท เอกสารวิชาการ
ประเด็นสำคัญ การเมือง การข้ามคาบสมุทร การค้าทางไกล การตั้งถิ่นฐาน การเกษตรกรรม การเดินเรือ การเลี้ยงสัตว์ ประวัติศาสตร์สังคม ระบบกษัตริย์ ศาสนา เทคโนโลยี เศรษฐกิจการค้า
จำนวนหน้า 501 หน้า
ภาษา ไทย
ปี พ.ศ. 2552
ปี ค.ศ. 2008
สำนักพิมพ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
ลิงก์ ลิงก์หนังสือ

สารบัญ

คำนำสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
แผนที่
กราฟ ภาพ และแผนผัง
คำย่อ
คำนำฉบับพิมพ์ครั้งแรก
คำนำฉบับปกอ่อน

บทที่ 1 การเขียนประวัติศาสตร์ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย เจ. ดี. เลกเก มหาวิทยาลัยโมนาช เมลเบิร์น ออสเตรเลีย
   การศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง
   การศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา
   หัวข้อสำคัญ ๆ ในการศึกษาวิจัยสมัยหลังสงคราม
   การเปลี่ยนแปลงการตีความ
   การรื้อโครงสร้างประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

จากยุคเริ่มแรกถึงประมาณคริสต์ศักราช 1500
บทนำ
บทที่ 2 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดย พีเทอร์ เบลล์วูด มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย แคนเบอร์ร่า
   สภาพแวดล้อมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน
   ธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอของสภาพแวดล้อมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
   มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ : หนึ่งล้านปีแรก
   บรรพชนของคนยุคปัจจุบัน
   หลักฐานทางโบราณคดีจากยุคไพลสโทซีนตอนปลายถึงยุคโฮโลซีนตอนกลาง
   กำเนิดและการขยายตัวของชุมชนเกษตรกรรม
   โบราณคดีของสังคมเกษตรกรรมยุคต้น
   หลักฐานทางด้านภาษา
   ยุคโลหะตอนต้น
   ยุคหินใหม่ตอนปลายและยุคโลหะตอนต้นในโลกออสโตรนีเซียน
   ข้อเขียนเกี่ยวกับบรรณานุกรม

บทที่ 3 ราชอาณาจักรยุคแรกเริ่ม โดย คีธ ดับเบิลยู. เทย์เล่อร์ มหาวิทยาลัยคอร์แนล อิทาคา สหรัฐอเมริกา
   เวียดนาม
   จามปา
   พระนคร
   พุกาม
   อยุธยา
   ศรีวิชัย
   มัชปาหิต
   ข้อเขียนเกี่ยวกับบรรณานุกรม

บทที่ 4 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยุคต้น โดย เคนเนท อาร์. ฮอลล์ มหาวิทยาลัยบอลล์สเตท มันซี อินเดียนนา สหรัฐอเมริกา
   พัฒนาการของเศรษฐกิจเมื่อแรกเริ่ม
   ยุคฟูนัน : กำเนิดเศรษฐกิจ-การเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงต้นคริสต์กาล
   ยุคของจักรวรรดิภาคพื้นทะเลศรีวิชัย (ค.ศ. 670-1025)
   อาณาจักรวัดในชวากลาง (ค.ศ. 570-927)
   ชวาตะวันออก (ค.ศ. 927-1222)
   สิงหัดส่าหรี (ค.ศ. 1222-1292) และมัชปาหิต (ค.ศ. 1293-1528)
   อาณาจักรภาคพื้นทะเลของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประมาร ค.ศ. 1500
   เศรษฐกิจ-การเมืองแบบอิงวัดของกัมพูชายุคพระนคร
   พุทธศาสนาในฐานะพลังงานทางเศรษฐกิจของพม่ายุคพุกาม
   การขยายการค้าและการพาณิชย์ระหว่างชาติบนแผ่นดินใหญ่ ประมาณ ค.ศ. 1100-1300
   เศรษฐกิจ-การเมืองที่อาศัยการปล้นสะดมของจามปา
   การก่อตัวของเศรษฐกิจ-การเมืองของเวียดนาม
   ภาวะสังคม-เศรษบกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยุคต้น : ข้อควรพิจารณาโดยสรุป
   ข้อเขียนเกี่ยวกับบรรณานุกรม

บทที่ 5 ศาสนาและความเชื่อของประชาชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อนประมาณ ค.ศ. 1500 โดย เจ. ดี. เดอ กาสปารีส์ สถาบันเคิร์น ลีเดน เนเธอร์แลนส์ และไอ. ดับเบิลยู. แมบเบตต์ มหาวิทยาลัยโมนาช เมลเบิร์น ออสเตรเลีย
   ยุคแรกเริ่ม
   ศาสนาที่มีต้นกำเนิดในอินเดียภาคพื้นแผ่นดินใหญ่
   ศาสนาที่มีต้นกำเนิดในอินเดียอาณาจักรภาคพื้นสมุทร
   ปัญหาพิเศษสองข้อ
   การเริ่มต้นของอิสลาม
   ข้อเขียนเกี่ยวกับบรรณานุกรม

ดรรชนี

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

ศรีวิชัย ฟูนัน มัชปาหิต สิงหะส่าหรี จามปา เมืองพระนคร ศาสนาพุทธ เวียดนาม พุกาม ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อยุธยา ก่อนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์นิพนธ์ อาณาจักรยุคเริ่มแรก ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ สิงหัดส่าหรี ชวากลาง ชวาตะวันออก

ยุคสมัย

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ศรีวิชัย Early Southeast Asia ก่อนประวัติศาสตร์

จำนวนผู้เข้าชม

250

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

22 ม.ค. 2567