ชื่อผู้แต่ง | ศรีศักร วัลลิโภดม, ประพนธ์ เรืองณรงค์, รัตติยา สาและ, ปรามินทร์ เครือทอง, ธงชัย วินิจจะกูล และสุจิตต์ วงษ์เทศ |
ประเภท | เอกสารวิชาการ |
ประเด็นสำคัญ | การเมือง ศาสนา เศรษฐกิจการค้า |
จำนวนหน้า | 358 หน้า |
ภาษา | ไทย |
ปี พ.ศ. | 2547 |
ปี ค.ศ. | 2004 |
พิมพ์ครั้งที่ | 1 |
สำนักพิมพ์ | มติชน |
สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ |
คำนำบรรณาธิการ สุจิตต์ วงษ์เทศ
บทนำเกียรติยศ เรื่องเล่าจากชายแดน ธงชัย วินิจจะกูล
“ปืนใหญ่” ในโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
“แขก” ในนางนพมาศ
“มลายู” ในโคลงภาพคนต่างภาษา
ภาพชุด รัชกาลที่ ๕ รัชกาลที่ ๖ รัชกาลที่ ๗ เสด็จประพาสเลียบมณฑลปักษ์ใต้
แหลมทองคาบสมุทรไทยมีรัฐปัตตานี สุจิตต์ วงษ์เทศ
๑. อุษาคเนย์เคยเป็นแผ่นดินเดียวกันเมื่อล้านปีมาแล้ว
๒. “คาบสมุทร” สุดแผ่นดินประเทศไทยในอุษาคเนย์
๓. บรรพชนของผู้คนภาคใต้
๔. สุวรรณภูมิบนแผ่นดินสยาม
๕. เส้นทางการค้าข้ามคาบสมุทร
๖. “ศรีวิชัย” คืออะไร? อยู่ที่ไหน?
๗. บ้านเมืองและแว่นแคว้นบนคาบสมุทรภาคใต้ของสยาม
๘. คาบสมุทรภาคใต้ใน “ราชอาณาจักรสยาม”
“ศรีวิชัย” ในรัฐปัตตานี ศรีศักร วัลลิโภดม
๙. ชุมชนเขตเทือกเขาสันกาลาคีรีที่คาบสมุทรภาคใต้
๑๐. สี่จังหวัดภาคใต้สมัยดึกดำบรรพ์
๑๑. รัฐปัตตานีคือลังกาสุกะ ไม่ใช่หลั่งยะสิว
๑๒. ปัตตานีในประวัติศาสตร์ “ศรีวิชัย”
๑๓. “ศรีวิชัย” ในประวัติศาสตร์ปัตตานี
๑๔. ปัตตานี-ยะลา ลังกาสุกะ (ไม่ใช่หลั่งยะสิว)
เส้นทางการค้าข้ามคาบสมุทร อ่าวไทย - อ่าวพังงา (ปัตตานี-นครศรีธรรมราช-กระบี่)
- บทผนวกท้ายเรื่อง ถ้ำศิลป จังหวัดยะลา
- บทผนวกท้ายเรื่อง ถ้ำศิลป - ถ้ำคูหาภิมุข จังหวัดยะลา
๑๕. ท้าวอู่ทอง มาจากเมืองจีน สร้างเมืองปัตตานี
ปตานี ดารุสสะลาม (มลายู-อิสลาม ปตานี)
๑๖. ปตานี ดารุสสะลาม (มลายู-อิสลาม ปตานี)
สู่ความเป็น “จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส” รัตติยา สาและ
๑๗. “พญาตานี” ปืนใหญ่ใส่อดีตอันรุ่งเรืองของกษัตริยาแห่งปัตตานี
ปรามินทร์ เครือทอง
บทผนวกเกียรติยศ ประพนธ์ เรืองณรงค์
ตำนานเมืองปัตตานี