ชื่อผู้แต่ง | จิรัสสา คชาชีวะ |
ประเภท | เอกสารวิชาการ |
ประเด็นสำคัญ | ประวัติศาสตร์สังคม ศาสนา ศิลปะ |
จำนวนหน้า | 369 หน้า |
ภาษา | ไทย |
ปี พ.ศ. | 2559 |
ปี ค.ศ. | 2016 |
พิมพ์ครั้งที่ | 1 |
สำนักพิมพ์ | ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร |
สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ |
คำนำ
สารบัญ
บทที่ 1 กำเนิดและพัฒนาการของวัชรยานตันตระในประเทศอินเดีย
- แหล่งกำเนิด
- โยคาจาร หรือ วิชญานวาท
- จากโยคาจารสู่ตันตระ
- ความหมายของวัชรยาน
- แนวคิดในการหลุดพ้นของวัชรยาน
- องค์ประกอบและแนวทางปฏิบัติของวัชรยานตันตระ
- ระบบรูปเคารพของเทพและเทพีในวัชรยานตันตระ
- พระโพธิสัตว์และศักติที่สำคัญและโดดเด่นในวัชรยานตันตระ
- เครื่องมือเครื่องใช้ในพิธีกรรม
บทที่ 2 วัชรยานตันตระในประเทศอินเดียจากหลักฐานโบราณคดี
- พระพุทธศาสนาในสมัยปาละ
- แหล่งกำเนิดของวัชรยาน
- สถานที่สำคัญของวัชรยานในประเทศอินเดีย
- พุทธสถานสำคัญที่ปรากฏร่องรอยของวัชรยานตันตระ
บทที่ 3 วัชรยานในอินโดนีเซีย
- พุทธศาสนาจากอินเดียสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- วัชรยานในอินโดนีเซีย
- หลักฐานโบราณคดีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธตันตระในอินโดนีเซีย
บทที่ 4 วัชรยานในกัมพูชา
- พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา
- หลักฐานพุทธตันตระในประเทศกัมพูชา
- หลักฐานโบราณคดีที่แสดงถึงร่องรอยของวัชรยานตันตระในกัมพูชา
บทที่ 5 วัชรยานในจัมปา
- พระพุทธศาสนามหายานตันตระในจัมปา
- หลักฐานโบราณคดีที่แสดงถึงร่องรอยของพุทธศาสนาวัชรยานตันตระในจัมปา
บทที่ 6 วัชรยานในประเทศไทย
- วัฒนธรรมทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 12-16)
- วัฒนธรรมเขมร (พุทธศตวรรษที่ 12-18)
- วัชรยานตันตระในภาคใต้ของประเทศไทย
บทที่ 7 วัชรยานในเมียนมา
- การติดต่อกับอินเดียจากหลักฐานโบราณคดี
- พุทธสถานในเมียนมา
- แหล่งโบราณคดีสำคัญในพระพุทธศาสนามหายานและมหายานตันตระ
- รูปเคารพในนิกายมหายาน-มหายานตันตระ
- จิตรกรรม
บทที่ 8 วิเคราะห์และสรุป
- วัชรยานตันตระในอินเดีย
- วัชรยานตันตระในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สรุปและเสนอแนะ
แผนที่แสดงตำแหน่งของแหล่งโบราณคดี ทางพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ
บรรณานุกรม