ชื่อผู้แต่ง | สฤษดิ์พงศ์ ขุนทรง |
ประเภท | เอกสารวิชาการ |
ประเด็นสำคัญ | การเมือง การค้าทางไกล การตั้งถิ่นฐาน ประวัติศาสตร์สังคม ระบบกษัตริย์ ศาสนา เศรษฐกิจการค้า |
จำนวนหน้า | 328 หน้า |
ภาษา | ไทย |
ปี พ.ศ. | 2558 |
ปี ค.ศ. | 2015 |
พิมพ์ครั้งที่ | 1 |
สำนักพิมพ์ | ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร |
สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ |
บทที่ 1 "ทวารวดี" ต้นธารประวัติศาสตร์บนดินแดนไทย
- ที่มาและความหมายของคำว่า "ทวารวดี"
- ร่องรอยของชุมชนและบ้านเมืองโบราณ
- ขอบเขตของรัฐทวารวดี
- จารึกสมัยทวารวดี
- "ทวารวดี" กับ "รามัณยะ" และการล่มสลาย?
- สถาปัตยกรรมสมัยทวารวดี
- สถาปัตยกรรมสมัยทวารวดี
- สรุปลักษณะพื้นฐานของวัฒนธรรมสมัยทวารวดี
- เชิงอรรถบทที่ 1
บทที่ 2 ก้าวสู่ประเด็นเศรษฐกิจการค้าในสมัยทวารวดี
- แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจการค้าในบทความเรื่อง "เครื่องรางของพ่อค้า"
- แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจการค้าในหนังสือ "(ศรี)ทวารวดี : ประวัติศาสตร์ยุคต้นของสยามประเทศ
- แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจการค้าในหนังสือ "Money, Markets, and Trade in Early Southeast Asia : The Development of Indigenous Monetary Systems to AD 1400"
- แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจการค้าในหนังสือ "ทวารวดี : การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี"
- แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจการค้าในบทความเรื่อง "เหรียญเงินไม่มีจารึกพบในแหล่งโบราณคดีสมัยทวารวดี"
- แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจการค้าในบทความเรื่อง "การค้าขายระหว่างประเทศสมัยทวารวดี : มุมมองจากงานโบราณคดีเมืองนครปฐม"
- แนวทางในการศึกษาเรื่องเศรษฐกิจการค้าในสมัยทวารวดี
- เชิงอรรถบทที่ 2
บทที่ 3 "เส้นทางสายไหมทางทะเล" กับรัฐโบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- จุดกำเนิดเส้นทางสายไหม (Silk Road)
- การติดต่อค้าขายตามเส้นทางสายไหมทางทะเลในสมัยราชวงศ์ฮั่น
- บทบาทของ "จามปา" ในการติดต่อค้าขายกับจีนช่วงก่อน พ.ศ.1100
- "ฟูนัน" รัฐการค้าทางทะเลระยะแรกเริ่มในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- "เตียนซุน" ตลาดการค้าและเมืองขึ้นของอาณาจักรฟูนัน
- "พันพัน" เครือข่ายการค้าร่วมสมัยของอาณาจักรฟูนัน
- เส้นทาง วิถึลมมรสุม และเรือสินค้าในช่วงแรกเริ่มประวัติศาสตร์ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- กลุ่มประเทศยักษ์ใหญ่ในเครือข่ายการค้าโลกสมัยโบราณ
- การล่มสลายของอาณาจักรฟูนัน และศูนย์กลางการค้าแห่งใหม่บนคาบสมุทรมลายู
- "อู่ทอง" เมืองท่าการค้าโบราณก่อนหน้าสมัยทวารวดี
- เชิงอรรถบทที่ 3
บทที่ 4 ราชวงศ์ถัง จักรวรรดิอิสลาม และศรีวิชัย : สามมหาอำนาจการค้าทางทะเล
- จักรพรรดิถังไท่จงและการก่อตัวของ "รัฐทวารวดี" ในหน้าประวัติศาสตร์
- นโยบายการค้าทางทะเลของจีนในช่วงสมัยราชวงศ์ถัง
- จักรวรรดิอิสลาม "อับบาสิยะฮ์" กับการค้าตามเส้นทางสายไหมทางทะเล
- "เครื่องถ้วย" หลักฐานทางโบราณคดีประเภทเด่นที่พบตามเส้นทางสายไหมทางทะเล
- "แหล่งเรือจมเบลีตุง" กับความมั่งคั่งของการค้าตามเส้นทางสายไหมทางทะเล
- "ศรีวิชัย" พ่อค้าคนกลางในเกาะสุมาตราและคาบสมุทรมลายู
- แหลมโพธิ์และทุ่งตึก : เมืองท่าค้าขายร่วมสมัยศรีวิชัย
- บทบาทของชนพื้นเมืองในน่านน้ำมหาสมุทรอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- เชิงอรรถบทที่ 4
บทที่ 5 "ทวารวดี" กับการค้าตามเส้นทางสายไหมทางทะเล
- ประเภทของสินค้าในสมัยทวารวดี
- พ่อค้าในสมัยทวารวดี
- สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสมัยทวารวดี
- เรือสินค้าในสมัยทวารวดี
- ตลาดการค้า
- ทวารวดี-ศรีวิชัย : ความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนา(มหายาน) และการติดต่อค้าขาย
- เชิงอรรถบทที่ 5
บทที่ 6 นโยบายการค้าของ "กัมพูชา-ศรีวิชัย-โจฬะ" กับการล่มสลายของทวารวดี
- พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 กับพระราชอำนาจเหนือลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา
- ราชวงศ์โจฬะ ศรีวิชัย และราชวงศ์ซ่ง : สามยักษ์ใหญ่ในการค้าทางทะเลช่วงพุทธศตวรรษที่ 16
- พระเจ้าราเชนทรโจฬะที่ 1 กับการยกกองทัพเรือมาโจมตีศรีวิชัย
- ทวารวดีล่มสลายเพราะการค้าระหว่างประเทศ?
- พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 มหาราชแห่งกัมพูชากับดินแดนทวารวดี
- เชิงอรรถบทที่ 6
บทที่ 7 "ทวารวดี" ประตูสู่การค้าระหว่างประเทศ
แผนที่ประกอบ
ตารางแสดงลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ดินแดนต่างๆ
บรรณานุกรม
ประวัติผู้แต่ง