ชื่อผู้แต่ง | ธิดา สาระยา |
ประเภท | เอกสารวิชาการ |
ประเด็นสำคัญ | การเมือง การตั้งถิ่นฐาน ประวัติศาสตร์สังคม ศาสนา ศิลปะ |
จำนวนหน้า | 388 หน้า |
ภาษา | ไทย |
ปี พ.ศ. | 2552 |
ปี ค.ศ. | 2009 |
สำนักพิมพ์ | เมืองโบราณ |
สถานที่พิมพ์ | กรุงเทพฯ |
บทที่ 1 แนวทางการศึกษาวิชาอารยธรรมไทย
- ข้อสังเกตเกี่ยวกับระเบียบวิธีการศึกษาอารยธรรม
- ความรับรู้เรื่องอารยธรรมไทยในบริบทสังคมไทย
- แนวทางการศึกษาอารยธรรมไทยที่ปรากฏในหลักสูตรการเรียนการสอน
- การศึกษาอารยธรรมไทยเป็นกระบวนการวิวัฒน์ของวัฒนธรรมทั้งระบบ
บทที่ 2 ต้นกำเนิดของอารยธรรมในภาคพื้นสยามประเทศ
- วัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์
- วัฒนธรรมต้นสมัยประวัติศาสตร์
- ความสืบเนื่องของอารยธรรมในภาคพื้นสยามประเทศก่อนสมัยสุโขทัย
บทที่ 3 วิวัฒนาการของอารยธรรมสยาม
- วิวัฒนาการทางการเมืองและวัฒนธรรมของเมืองร่วมสุโขทัย
- วิวัฒนาการทางการเมืองและวัฒนธรรมของสุโขทัย
- การสืบเนื่องและการเปลี่ยนแปลงของอารยธรรมพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
- บูรณาการของอารยธรรมสยามยุคต้น ด้านศาสนา ความเชื่อ ขนบประเพณี การเมือง การปกครอง และศิลปวัฒนธรรม
บทที่ 4 บทสรุป
- การมีพุทธศาสนาเป็นวิถีชีวิตทางด้านวัฒนธรรม
- พุทธศาสนาเป็นแกนของระบบความคิดความเชื่อในหมู่คนทั่วไป
- วัฒนธรรม-อารยธรรมในสังคมไทยจะไปทางใดในกระแสโลกาภิวัฒน์
SUMMARY THE CIVILZATION AND CULTURE IN THAI SOCIETY