ชื่อผู้แต่ง | Trans by: U Pu |
บรรณาธิการ | - |
สถานที่พิมพ์ | - |
สำนักพิมพ์ | - |
ปี พ.ศ. | - |
ปี ค.ศ. | - |
จำนวนหน้า | 924 |
ภาษา | English |
หัวเรื่อง | พระยามิลินท์, พระนาคเสน, ตักโกลา |
การสนทนาธรรมของพระเจ้าเมนันเดอร์ ที่ 1 หรือพระยามิลินท์ กษัตริย์กรีกผู้ปกครองเมืองสาคละ (Sagala) ปัจจุบันคือเมืองซิอัลโกต ทางตอนเหนือของประเทศปากีสถาน กับพระนาคเสน
เรื่องราวเกิดจากพระยามิลินท์ได้มีปัญหาเรื่องของหลักธรรมที่หาใครตอบไม่ได้ จนพบพระนาคเสนที่สามารถตอบได้ทุกข้อสงสัย โดยบทสนทนาธรรมของทั้งสองนั้นเกิดขึ้นราวปลายพุทธศตวรรษที่ 4 - ต้นพุทธศตวรรษที่ 5
กระนั้นบทสนทนากลับถูกบันทึกในภายหลังในช่วงพุทธศตวรรษที่ 6 – 7 และต้นฉบับดังกล่าวได้หายไป ฉบับที่ถูกใช้อ้างอิงในปัจจุบันนั้นอ้างมาจากบันทึกที่ถูกจดขึ้นมาใหม่ในพุทธศตวรรษที่ 9 - 10
“Just, O king, as a ship-owner who having paid up the Port dues, will traverse the great ocean and go to Vanga, or Takkola, or China, or Sovira, or Surat, or Alexandria or the Koromandel coast, or Suvannna-bhumi the golden land, or and other place accessible by ship or boat”
“ข้าแต่พระราชา เปรียบได้กับเจ้าของเรือผู้มีทรัพย์จ่ายภาษีท่าเรือแล้ว จะเดินทางข้ามมหาสมุทรที่ยิ่งใหญ่ และไปยังวังคะ(Vanga) หรือตักโกลา(Takkola) หรือจีนะ(China) หรือ โสวีระ(Sovira) หรือ สุรัฎฐะ(Surat) หรือ อลาสันทะ(Alexandria) หรือ อ่าวโกละปัตตนะ(Koromandel coast) หรือ สุวรรณภูมิ ดินแดนทอง หรือ ที่แห่งอื่นที่สามารถเดินทางไปด้วยเรือน้อยใหญ่”
การสนทนาธรรมของพระเจ้าเมนันเดอร์ ที่ 1 หรือพระยามิลินท์ กษัตริย์กรีกผู้ปกครองเมืองสาคละ (Sagala) ปัจจุบันคือเมืองซิอัลโกต ทางตอนเหนือของประเทศปากีสถาน กับพระนาคเสน
เรื่องราวเกิดจากพระยามิลินท์ได้มีปัญหาเรื่องของหลักธรรมที่หาใครตอบไม่ได้ จนพบพระนาคเสนที่สามารถตอบได้ทุกข้อสงสัย โดยบทสนทนาธรรมของทั้งสองนั้นเกิดขึ้นราวปลายพุทธศตวรรษที่ 4 - ต้นพุทธศตวรรษที่ 5
กระนั้นบทสนทนากลับถูกบันทึกในภายหลังในช่วงพุทธศตวรรษที่ 6 – 7 และต้นฉบับดังกล่าวได้หายไป ฉบับที่ถูกใช้อ้างอิงในปัจจุบันนั้นอ้างมาจากบันทึกที่ถูกจดขึ้นมาใหม่ในพุทธศตวรรษที่ 9 - 10
“Just, O king, as a ship-owner who having paid up the Port dues, will traverse the great ocean and go to Vanga, or Takkola, or China, or Sovira, or Surat, or Alexandria or the Koromandel coast, or Suvannna-bhumi the golden land, or and other place accessible by ship or boat”
“ข้าแต่พระราชา เปรียบได้กับเจ้าของเรือผู้มีทรัพย์จ่ายภาษีท่าเรือแล้ว จะเดินทางข้ามมหาสมุทรที่ยิ่งใหญ่ และไปยังวังคะ(Vanga) หรือตักโกลา(Takkola) หรือจีนะ(China) หรือ โสวีระ(Sovira) หรือ สุรัฎฐะ(Surat) หรือ อลาสันทะ(Alexandria) หรือ อ่าวโกละปัตตนะ(Koromandel coast) หรือ สุวรรณภูมิ ดินแดนทอง หรือ ที่แห่งอื่นที่สามารถเดินทางไปด้วยเรือน้อยใหญ่”