หน้าแรก บทความ โบราณวิทยาเรื่องโลหะสำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย

โบราณวิทยาเรื่องโลหะสำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย

โบราณวิทยาเรื่องโลหะสำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย

ชื่อผู้แต่ง สุรพล นาถะพินธุ
วารสาร/นิตยสาร ดำรงวิชาการ
ปีที่ 13
ฉบับที่ 1
หน้าที่ 107 - 132
ภาษา ภาษาไทย
หัวเรื่อง -

เนื้อหาโดยย่อ

      บทความนี้มีวัตถุประสงค์หลักคือ การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการทำและใช้โลหะสำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย เนื้อหาหลักของบทความแบ่งออกเป็น 2 หัวข้อใหญ่ คือ 1.) ความนำ 2.) การทำและใช้สำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย และ 3.) ความเห็นเรื่องผลกระทบของพัฒนาการด้านโลหกรรมต่อสังคมและวัฒนธรรมมนุษย์สมัยอดีต

      การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการทางเทคโนโลยีโลหกรรม และวัฒนธรรมสมัยโบราณในดินแดนต่าง ๆ ของโลกพบว่าพัฒนาการของเทคโนโลยีนี้ มักสัมพันธ์กับการเกิดสังคมและวัฒนธรรมที่มีโครงสร้างแบบซับซ้อน สำหรับกรณีประเทศไทยนั้น แม้ว่าจวบจนขฯะนี้ยังไม่มีผลการศึกษาที่เน้นเฉพาะเจาะจงเพื่อหาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมทั้ง 2 ประการมากนัก แต่ก็มีหลักฐานทางโบราณคดีชี้ความเป็นไปได้ว่าเทคโนโลยีโลหกรรมคงเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่ง ที่มีผลต่อลักษณะการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายในประเทศไทยเช่นเดียวกับในดินแดนอื่นของโลก

หลักฐานสำคัญ

-

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

จำนวนผู้เข้าชม

159

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

18 พ.ย. 2565

โบราณวิทยาเรื่องโลหะสำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย

  • โบราณวิทยาเรื่องโลหะสำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    สุรพล นาถะพินธุ

    ชื่อบทความ :
    โบราณวิทยาเรื่องโลหะสำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    ดำรงวิชาการ

    ปีที่ :
    13

    ฉบับที่ :
    1

    หน้าที่ :
    107 - 132

    ภาษา :
    ภาษาไทย

    หัวเรื่อง :
    -

    เนื้อหาโดยย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์หลักคือ การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการทำและใช้โลหะสำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย เนื้อหาหลักของบทความแบ่งออกเป็น 2 หัวข้อใหญ่ คือ 1.) ความนำ 2.) การทำและใช้สำริดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย และ 3.) ความเห็นเรื่องผลกระทบของพัฒนาการด้านโลหกรรมต่อสังคมและวัฒนธรรมมนุษย์สมัยอดีต

          การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการทางเทคโนโลยีโลหกรรม และวัฒนธรรมสมัยโบราณในดินแดนต่าง ๆ ของโลกพบว่าพัฒนาการของเทคโนโลยีนี้ มักสัมพันธ์กับการเกิดสังคมและวัฒนธรรมที่มีโครงสร้างแบบซับซ้อน สำหรับกรณีประเทศไทยนั้น แม้ว่าจวบจนขฯะนี้ยังไม่มีผลการศึกษาที่เน้นเฉพาะเจาะจงเพื่อหาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมทั้ง 2 ประการมากนัก แต่ก็มีหลักฐานทางโบราณคดีชี้ความเป็นไปได้ว่าเทคโนโลยีโลหกรรมคงเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่ง ที่มีผลต่อลักษณะการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายในประเทศไทยเช่นเดียวกับในดินแดนอื่นของโลก

    หลักฐานสำคัญ

    -


    ห้องสมุดแนะนำ :
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 18 พ.ย. 2565
    จำนวนผู้เข้าชม : 159