หน้าแรก บทความ ธรณีโบราณคดีที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง : การศึกษาเบื้องต้นจากข้อมูลโทรสัมผัส

ธรณีโบราณคดีที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง : การศึกษาเบื้องต้นจากข้อมูลโทรสัมผัส

ธรณีโบราณคดีที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง : การศึกษาเบื้องต้นจากข้อมูลโทรสัมผัส

ชื่อผู้แต่ง ชวลิต ขาวเขียว และทิวา ศุภจรรยา
วารสาร/นิตยสาร ดำรงวิชาการ
เดือน มกราคม
ปีที่ 4
ฉบับที่ 2
หน้าที่ 54 - 70
ภาษา ภาษาไทย
หัวเรื่อง -

เนื้อหาโดยย่อ

      การศึกษาทางด้านธรณีวิทยาทางโบราณคดี เป็นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านธรณีวิทยาต่าง ๆ เช่น ธรณีสัณฐาน ตะกอนวิทยา ธรณีวิทยาภาพถ่าย ธรณีฟิสิกส์ เป็นต้น เข้ามาช่วยในการศึกษาข้อมูลหลักฐานต่าง ๆ ทางด้านโบราณคดี เพื่อบูรณาการข้อมูลเหล่านั้นให้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น อาทิเช่น ความรู้เกี่ยวกับธรณีสัณฐานมาทำการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยหรือลักษณะการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในอดีต การวิเคราะห์ลักษณะสัณฐานของชั้นดินจากการหลุมขุดค้นทางโบราณคดีเพื่อตีความเกี่ยวกับการก่อตัวของแหล่งโบราณคดี การสำรวจแหล่งโบราณคดีจากรูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม หรือการสำรวจแหล่งโบราณคดีโดยวิธีการทางธรณีฟิสิกส์ เป็นต้น 

      ทั้งนีประเด็นสำคัญในนำความรู้ทางด้านธรณีวิทยาเข้ามาประยุกต์ใช้กับงานโบราณคดีนั้น คือ การช่วยนักโบราณคดีตอบคำถามต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการศึกษาข้อมูลหลักฐานโบราณคดี และถือเป็นการศึกษาแบบสหวิชาไปในตัวอีกด้วย และสามารถทำให้เข้าใจกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ในอดีตได้ดียิ่งขึ้น เช่น การเลือกพื้นที่ในการตั้งถิ่นฐาน

หลักฐานสำคัญ

การใช้ข้อมูลโทรสัมผัส

ห้องสมุดแนะนำ

หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

ยุคสมัย

1 9

จำนวนผู้เข้าชม

478

วันที่เผยแพร่ข้อมูล

18 พ.ย. 2565

ธรณีโบราณคดีที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง : การศึกษาเบื้องต้นจากข้อมูลโทรสัมผัส

  • ธรณีโบราณคดีที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง : การศึกษาเบื้องต้นจากข้อมูลโทรสัมผัส
  • blog-img
    ชื่อผู้แต่ง :
    ชวลิต ขาวเขียว และทิวา ศุภจรรยา

    ชื่อบทความ :
    ธรณีโบราณคดีที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง : การศึกษาเบื้องต้นจากข้อมูลโทรสัมผัส

    วารสาร/นิตยสาร
    วารสาร/นิตยสาร :
    ดำรงวิชาการ

    เดือน
    เดือน :
    มกราคม

    ปีที่ :
    4

    ฉบับที่ :
    2

    หน้าที่ :
    54 - 70

    ภาษา :
    ภาษาไทย

    หัวเรื่อง :
    -

    เนื้อหาโดยย่อ

          การศึกษาทางด้านธรณีวิทยาทางโบราณคดี เป็นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านธรณีวิทยาต่าง ๆ เช่น ธรณีสัณฐาน ตะกอนวิทยา ธรณีวิทยาภาพถ่าย ธรณีฟิสิกส์ เป็นต้น เข้ามาช่วยในการศึกษาข้อมูลหลักฐานต่าง ๆ ทางด้านโบราณคดี เพื่อบูรณาการข้อมูลเหล่านั้นให้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น อาทิเช่น ความรู้เกี่ยวกับธรณีสัณฐานมาทำการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยหรือลักษณะการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในอดีต การวิเคราะห์ลักษณะสัณฐานของชั้นดินจากการหลุมขุดค้นทางโบราณคดีเพื่อตีความเกี่ยวกับการก่อตัวของแหล่งโบราณคดี การสำรวจแหล่งโบราณคดีจากรูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม หรือการสำรวจแหล่งโบราณคดีโดยวิธีการทางธรณีฟิสิกส์ เป็นต้น 

          ทั้งนีประเด็นสำคัญในนำความรู้ทางด้านธรณีวิทยาเข้ามาประยุกต์ใช้กับงานโบราณคดีนั้น คือ การช่วยนักโบราณคดีตอบคำถามต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการศึกษาข้อมูลหลักฐานโบราณคดี และถือเป็นการศึกษาแบบสหวิชาไปในตัวอีกด้วย และสามารถทำให้เข้าใจกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ในอดีตได้ดียิ่งขึ้น เช่น การเลือกพื้นที่ในการตั้งถิ่นฐาน

    หลักฐานสำคัญ

    การใช้ข้อมูลโทรสัมผัส


    ห้องสมุดแนะนำ :
    หอสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

    ลิงก์ที่มา :

    ดาวน์โหลดบทความ :

    ยุคสมัย
    1 9

    คำสำคัญ/ป้ายกำกับ

    วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 18 พ.ย. 2565
    จำนวนผู้เข้าชม : 478